ย่าง

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ยาง

ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ย่าง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงyâang
ราชบัณฑิตยสภาyang
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/jaːŋ˥˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *jaːŋᴮ²; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ญ่าง หรือ ย่าง, ภาษาลาว ຍ່າງ (ย่าง), ภาษาไทลื้อ ᦍᦱᧂᧈ (ย่าง), ภาษาไทดำ ꪑ꪿ꪱꪉ (ญ่าง), ภาษาไทใหญ่ ယၢင်ႈ (ย้าง), ภาษาไทใต้คง ᥕᥣᥒ (ยาง), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง yangz, ภาษาจ้วง yangz

คำกริยา[แก้ไข]

ย่าง (คำอาการนาม การย่าง)

  1. ยกเท้าก้าวไป, เดิน
  2. เคลื่อนเข้าสู่
    ย่างเข้าหน้าหนาว
    อายุย่าง 20 ปี

คำพ้องความ[แก้ไข]

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ˀjaːŋꟲ¹, จากภาษาไทดั้งเดิม *ˀjɯəŋꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຢ້າງ (อย้าง), ภาษาไทลื้อ ᦊᦱᧂᧉ (หฺย้าง), ภาษาไทใหญ่ ယၢင်ႈ (ย้าง), ภาษาไทใต้คง ᥕᥣᥒᥲ (ย้าง)

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

ย่าง (คำอาการนาม การย่าง)

  1. ทำให้สุกด้วยการวางไว้เหนือไฟ เพื่อให้สุกระอุทั่วกัน หรือให้แห้ง มักใช้แก่ของสด โดยปรกติใช้เวลานานกว่าปิ้ง
    ย่างไก่
    ย่างหมู
คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ย่าง

  1. ที่ทำให้สุกด้วยวิธีการวางไว้เหนือไฟ เพื่อให้สุกระอุทั่วกัน หรือให้แห้ง
    ไก่ย่าง
    หมูย่าง

ภาษาอีสาน[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *jaːŋᴮ²; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ย่าง, ภาษาลาว ຍ່າງ (ย่าง), ภาษาไทลื้อ ᦍᦱᧂᧈ (ย่าง), ภาษาไทดำ ꪑ꪿ꪱꪉ (ญ่าง), ภาษาไทใหญ่ ယၢင်ႈ (ย้าง), ภาษาไทใต้คง ᥕᥣᥒ (ยาง)

คำกริยา[แก้ไข]

ย่าง (คำอาการนาม การย่าง)

  1. เดิน