ปิ้ง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *piːŋꟲ²; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ปิ้ง, ภาษาลาว ປີ້ງ (ปี้ง), ภาษาคำเมือง ᨸᩥ᩠᩶ᨦ (ปิ้ง), ภาษาเขิน ᨸᩥ᩠᩶ᨦ (ปิ้ง), ภาษาไทลื้อ ᦔᦲᧂᧉ (ปี้ง), ภาษาไทดำ ꪜꪲ꫁ꪉ (ปิ้ง), ภาษาไทใหญ่ ပိင်ႈ (ปิ้ง), ภาษาอาหม 𑜆𑜢𑜂𑜫 (ปิง์); เป็นไปได้ว่าเกี่ยวข้องกับ ผิง
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ปิ้ง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | bpîng |
ราชบัณฑิตยสภา | ping | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /piŋ˥˩/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]ปิ้ง (คำอาการนาม การปิ้ง)
- ทำให้สุกด้วยการวางไว้เหนือไฟ มักใช้แก่ของแห้ง โดยปรกติใช้เวลาน้อยกว่าย่าง
- ปิ้งข้าวเกรียบ
- ปิ้งเนื้อเค็ม
- ปิ้งปลาแห้ง
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ปิ้ง
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /piŋ˦˦ʔ/
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]ปิ้ง (คำอาการนาม ก๋ารปิ้ง หรือ ก๋านปิ้ง)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]คำกริยาวิเศษณ์
[แก้ไข]ปิ้ง (คำอาการนาม กำปิ้ง หรือ ความปิ้ง)
- อีกรูปหนึ่งของ ᨸᩥ᩠᩶ᨦ (ปิ้ง)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/iŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- Pages with language headings in the wrong order
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- คำสกรรมกริยาภาษาคำเมือง
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาคำเมือง
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาคำเมืองในอักษรไทย