ลวก
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *luəkᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ลวก, ภาษาลาว ລວກ (ลวก), ภาษาคำเมือง ᩃ᩠ᩅᨠ (ลวก), ภาษาเขิน ᩃ᩠ᩅᨠ (ลวก), ภาษาไทลื้อ ᦷᦟᧅ (โลก), ภาษาไทดำ ꪩꪺꪀ (ลัวก), ภาษาไทขาว ꪩꪺ, ภาษาแสก หล้วก, ภาษาจ้วง lueg, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง lueg
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ลวก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | lûuak |
ราชบัณฑิตยสภา | luak | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /lua̯k̚˥˩/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]ลวก (คำอาการนาม การลวก)
- กิริยาที่ของเหลวหรือไอที่ร้อนจัดหรือไฟมากระทบ
- น้ำร้อนลวก
- ถูกไอน้ำเดือดลวก
- ไฟลวก
- กิริยาที่ถูกน้ำร้อน ไอร้อน หรือไฟพลุ่งมากระทบผิว
- หม้อน้ำระเบิด น้ำร้อนพลุ่งมาลวกทำให้พองไปทั้งตัว
- ไฟพลุ่งมาลวกเนื้อลวกตัว
- รดหรือแช่ด้วยน้ำร้อน
- เอาน้ำร้อนมาลวกผัก
- ลวกผ้า
- ลวกชาม
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ลวก