ใบ้
หน้าตา
ดูเพิ่ม: ใบ
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɓɤɰꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ໃບ້ (ใบ้), ภาษาไทใหญ่ မႂ်ႈ (ใม้), ภาษาจ้วง mbwj (บื้อ -พูดติดอ่าง) , ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง mbwj (บื้อ -พูดติดอ่าง)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ไบ้ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | bâi |
ราชบัณฑิตยสภา | bai | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /baj˥˩/(สัมผัส) |
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ใบ้
- พิการแต่กำเนิด ไม่สามารถพูดเป็นถ้อยคำที่คนทั่ว ๆ ไปเข้าใจ
- โดยปริยายหมายความว่า นิ่งไม่พูด
- นั่งเป็นใบ้
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]ใบ้ (คำอาการนาม การใบ้)
คำเกี่ยวข้อง
[แก้ไข]คำเกี่ยวข้อง
| width=1% | |bgcolor="#F9F9F9" valign=top align=left width=48%|
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ใบ้ (คำอาการนาม ความใบ้)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/aj
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่สะกดด้วย ใ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- คำกริยาภาษาไทย
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำคุณศัพท์ภาษาอีสาน