ລ່ອນ
หน้าตา
ภาษาลาว
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]การสะกดยืมจากภาษาไทย ล่อน; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ล่อน, ภาษาอีสาน หล้อน, ภาษาเขิน ᩉᩖᩬ᩶ᩁ (หลอ้ร), ภาษาไทลื้อ ᦜᦸᧃᧉ (หฺล้อ̂น), ภาษาไทใหญ่ လွၼ်ႈ (ล้อ̂น); ร่วมรากกับ ຫຼ້ອນ (หล้อน)
การออกเสียง
[แก้ไข]- (เวียงจันทน์) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [lɔːn˧]
- (หลวงพระบาง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [lɔːn˧˨]
- การแบ่งพยางค์: ລ່ອນ
- สัมผัส: -ɔːn
- คำพ้องเสียง: ຫຼ່ອນ (หล่อน) (ในถิ่นที่มีการออกเสียงอักษรคู่เหมือนกันเมื่อมีไม้เอก)
คำกริยา
[แก้ไข]ລ່ອນ • (ล่อน) (คำอาการนาม ການລ່ອນ)
- (สกรรม) เล็มเอาเปลือกออกให้หมด
- (สกรรม) เล็ม, ทำให้เกลี้ยง
- (สกรรม) เอาให้หมด, ทำให้เสร็จ
- (อกรรม) ล่อน (ไม่มีเปลือกหรือหนัง), ซึ่งเกลี้ยง
การใช้
[แก้ไข]ຫຼ້ອນ (หล้อน) ใช้บ่อยกว่า