ເສາະ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาลาว[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เสาะ, ภาษาคำเมือง ᨪᩰᩬᩡ (โซอะ), ภาษาอีสาน เสาะ หรือ ซอก, ภาษาเขิน ᨪᩰᩬᩡ (โซอะ) หรือ ᨪᩬᨠ (ซอก), ภาษาไทลื้อ ᦌᦸᦰ (ซอ̂ะ), ภาษาไทใหญ่ သွၵ်ႈ (ส้อ̂ก); ร่วมรากกับ ຊອກ (ซอก)

คำกริยา[แก้ไข]

ເສາະ (เสาะ) (คำอาการนาม ການເສາະ)

  1. (สกรรม) เสาะ (หา, ค้น, แสวง หรือสืบ)

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย สอ, ภาษาอีสาน เสาะ หรือ สอ; ร่วมรากกับ ສໍ (สํ)

คำนาม[แก้ไข]

ເສາະ (เสาะ)

  1. ขาวสะอาด, ใส, แจ้ง, สว่าง
  2. งาม

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เสาะ (ในคำว่า เสาะท้อง)

คำกริยา[แก้ไข]

ເສາະ (เสาะ) (คำอาการนาม ການເສາະ)

  1. (สกรรม) ถ่าย (เช่นในถ่ายท้อง)

รากศัพท์ 4[แก้ไข]

อาจร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เฉาะ

คำกริยา[แก้ไข]

ເສາະ (เสาะ) (คำอาการนาม ການເສາະ)

  1. (สกรรม) ถาก, ถากเอาเปลือกออก, ถากเอาออกบาง ๆ, ถากรอบ ๆ , ไสกบ, ตัดออก

รากศัพท์ 5[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาไทย เสาะ

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ເສາະ (เสาะ) (คำอาการนาม ຄວາມເສາະ)

  1. เสาะ
    ໃຈເສາະ
    ใจเสาะ
    ใจเสาะ