ᥛᥫ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทใต้คง[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เมื่อ, ภาษาลาว ເມື່ອ (เมื่อ), ภาษาคำเมือง ᨾᩮᩬᩥ᩵ᩋ (เมอิ่อ), ภาษาเขิน ᨾᩮᩬᩨ᩵ (เมอื่), ภาษาไทลื้อ ᦵᦙᦲᧈ (เมี่), ภาษาไทดำ ꪹꪣ꪿ (เม่), ภาษาไทใหญ่ မိူဝ်ႈ (เมิ้ว)

คำนาม[แก้ไข]

ᥛᥫ (เมอ̂) (อักขรวิธี 1963 ᥛᥫ)

  1. เมื่อ, เวลา, ฤดู, ยาม

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *C̥.ɓɯəᴮ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เบื่อ, ภาษาลาว ເບື່ອ (เบื่อ), ภาษาคำเมือง ᨷᩮᩬᩥ᩵ᩋ (เบอิ่อ), ภาษาเขิน ᨷᩮᩬᩨ᩵ (เบอื่), ภาษาไทลื้อ ᦵᦢᦲᧈ (เบี่), ภาษาไทใหญ่ မိူဝ်ႇ (เมิ่ว) หรือ ဝိူဝ်ႇ (เวิ่ว), ภาษาจ้วง mbw, ภาษาจ้วงแบบหนง mbowq

คำกริยา[แก้ไข]

ᥛᥫ (เมอ̂) (อักขรวิธี 1963 ᥛᥫ)

  1. (สกรรม) เบื่อ (วางยาพิษให้เมาหรือให้ตาย) (ใช้กับปลา)