ᨣᩱ᩶

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาเขิน[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทลื้อ ᦺᦅᧉ (ไค้), ภาษาไทใหญ่ ၵႆႉ (ไก๎), ภาษาไทใต้คง ᥐᥭᥳ (กั๎ย)

การออกเสียง[แก้ไข]

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ᨣᩱ᩶ (ไค้) (คำอาการนาม ᨣ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨣᩱ᩶)

  1. ขยัน, ไม่ขี้เกียจ, ไม่อยู่เฉย

คำตรงข้าม[แก้ไข]

ขยัน

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง (MC hojX); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ໄຄ້ (ไค้), ภาษาไทลื้อ ᦺᦅᧉ (ไค้)

คำนาม[แก้ไข]

ᨣᩱ᩶ (ไค้)

  1. ปีกุน
    ᨸᩦᨣᩱ᩶
    ปีไค้
    ปีกุน
การใช้[แก้ไข]

ล้านนานิยมใช้ช้าง ไม่ใช่หมู เป็นรูปลักษณ์

ดูเพิ่ม[แก้ไข]

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ໄຄ້ (ไค้)

คำนาม[แก้ไข]

ᨣᩱ᩶ (ไค้)

  1. ไกปืน
  2. นกสับปืน

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

รากศัพท์นี้ขาดหายหรือไม่สมบูรณ์ กรุณาช่วยเพิ่มเติม หรืออภิปรายที่หน้าพูดคุย

คำนาม[แก้ไข]

ᨣᩱ᩶ (ไค้) (คำลักษณนาม ᨲ᩠ᩅᩫ)

  1. กระจง

รากศัพท์ 4[แก้ไข]

รากศัพท์นี้ขาดหายหรือไม่สมบูรณ์ กรุณาช่วยเพิ่มเติม หรืออภิปรายที่หน้าพูดคุย

คำกริยา[แก้ไข]

ᨣᩱ᩶ (ไค้) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨣᩱ᩶)

  1. (สกรรม) งัด, แงะ
    คำพ้องความ: ᨦᩱ᩶ (ไง้)
  2. (สกรรม) เหนี่ยว

อ้างอิง[แก้ไข]

  • พจนานุกรมภาษาล้านนา = The Lanna dictionary (พิมพ์ครั้งที่ 2). (พ.ศ. 2550). เชียงใหม่: สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

ภาษาไทลื้อ[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ᨣᩱ᩶ (ไค้) (คำอาการนาม ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨣᩱ᩶)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᦺᦅᧉ (ไค้)

คำนาม[แก้ไข]

ᨣᩱ᩶ (ไค้)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᦺᦅᧉ (ไค้)