ꪋ꫁ꪱꪙ
หน้าตา
ภาษาไทดำ
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ɡraːnꟲ², จากภาษาจีนเก่า 懶 (OC *raːnʔ)[1]; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย คร้าน, ภาษาลาว ຄ້ານ (ค้าน), ภาษาอีสาน คร้าน, ภาษาคำเมือง ᨣᩕ᩶ᩣ᩠ᨶ (คร้าน), ภาษาเขิน ᨤ᩶ᩣ᩠ᨶ (ฅ้าน), ภาษาไทลื้อ ᦆᦱᧃᧉ (ฅ้าน), ภาษาไทใหญ่ ၶၢၼ်ႉ (ข๎าน), ภาษาไทใต้คง ᥑᥣᥢᥳ (ฃ๎าน)
การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [t͡ɕaːn˧˩ˀ]
- การแบ่งพยางค์: ꪋ꫁ꪱꪙ
- สัมผัส: -aːn
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ꪋ꫁ꪱꪙ (จ้̱าน)
- (ꪄꪲ꫁~) ขี้เกียจ, เกียจคร้าน
อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ Pittayaporn, Pittayawat (2014), chapter Layers of Chinese Loanwords in Proto-Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai, in MANUSYA: Journal of Humanities, volume 20 (special issue), Bangkok: Chulalongkorn University, ISSN 0859-9920, pages 47–68.