ลึก
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (เลิกใช้) ฦก
รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *lɤkᴰˢ⁴, จากภาษาไทดั้งเดิม *lɤkᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩃᩮᩥᩢ᩠ᨠ (เลิัก), ภาษาปักษ์ใต้ หลึก, ภาษาลาว ເລິກ (เลิก) หรือ ລຶກ (ลึก), ภาษาไทลื้อ ᦵᦟᦲᧅ (เลีก), ภาษาไทใหญ่ လိုၵ်ႉ (ลึ๎ก), ภาษาไทใต้คง ᥘᥫᥐ (เลอ̂ก), ภาษาอาหม 𑜎𑜢𑜤𑜀𑜫 (ลึก์), ภาษาจ้วง laeg, ภาษาจ้วงแบบหนง ndaek
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ลึก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | lʉ́k |
ราชบัณฑิตยสภา | luek | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /lɯk̚˦˥/(สัมผัส) |
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ลึก (คำอาการนาม ความลึก)
- ต่ำลงไปจากขอบมากกว่าปรกติ
- ชามก้นลึก
- ไกลต่ำลงไปจากผิวหน้าหรือขอบบน
- ทะเลลึก
- น้ำลึก
- เหวลึก
- ไกลเข้าไปจากขอบเป็นต้น
- ป่าลึก
- ซอยลึก
- หยั่งรู้ได้ยาก
- ความคิดลึก
คำตรงข้าม
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɯk̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้