ข้ามไปเนื้อหา

หาว

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ห่าว และ ห้าว

ภาษาไทย

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์หาว
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงhǎao
ราชบัณฑิตยสภาhao
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/haːw˩˩˦/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຫາວ (หาว), ภาษาไทลื้อ ᦠᦱᧁ (หาว), ภาษาไทใหญ่ ႁၢဝ် (หาว), ภาษาอาหม 𑜍𑜈𑜫 (รว์)

คำนาม

[แก้ไข]

หาว

  1. ที่แจ้ง
  2. ท้องฟ้า
    กลางหาว

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰraːwᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉᩣ᩠ᩅ (หาว), ภาษาเขิน ᩉᩣ᩠ᩅ (หาว), ภาษาลาว ຫາວ (หาว), ภาษาไทลื้อ ᦠᦱᧁ (หาว), ภาษาไทดำ ꪬꪱꪫ (หาว), ภาษาไทขาว ꪬꪱꪫ, ภาษาไทใหญ่ ႁၢဝ် (หาว), ภาษาไทใต้คง ᥞᥝᥴ (เห๋า), ภาษาพ่าเก ꩭွ် (เหา), ภาษาจ้วงแบบหนง hau, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง hau

คำกริยา

[แก้ไข]

หาว (คำอาการนาม การหาว)

  1. กิริยาที่สูดลมเข้าแล้วระบายลมออกทางปากเมื่อเวลาง่วงนอนเป็นต้น
    หาวนอน