แพะ
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก เนื้อแพะ)
ดูเพิ่ม: แพ่ะ
ภาษาไทย
[แก้ไข]💡️ เคยเสนอใน “รู้ไหมว่า”
รากศัพท์
[แก้ไข]จากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม *bəɓeʔ, แรกเริ่มมาจากการเลียนเสียงธรรมชาติ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขมร ពពែ (พแพ), ภาษามอญ ဗ္ၜေံ (พฺเบํ), ภาษาญัฮกุร แพะ, ภาษาชอง แพ่ะ
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | แพะ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | pɛ́ |
ราชบัณฑิตยสภา | phae | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pʰɛʔ˦˥/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]แพะ (คำลักษณนาม ตัว)
- ชื่อสัตว์เคี้ยวเอื้องชนิด Capra hircus ในวงศ์ Bovidae เป็นสัตว์กีบคู่ขนาดกลาง มีความอดทน แข็งแรง และทนทานต่อโรคได้ดีกว่าสัตว์กีบคู่อื่น ๆ สามารถปีนป่ายที่สูงโดยเฉพาะโขดหินหรือภูเขาได้ดี ขนหยาบสีดำ ขาว หรือน้ำตาล มีเขา 1 คู่ ตัวผู้มีเครา หางสั้น
- คำตัดทอนของ แพะรับบาป
- ป่าแพะ
คำพ้องความ
[แก้ไข]- ดูที่ อรรถาภิธาน:แพะ
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]สัตว์เคี้ยวเอื้องชนิด Capra hircus
คำสืบทอด
[แก้ไข]ภาษาญัฮกุร
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษามอญเก่า ဗၜေအ်, จากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม *bəɓeʔ, แรกเริ่มมาจากการเลียนเสียงธรรมชาติ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขมร ពពែ (พแพ), ภาษามอญ ဗ္ၜေံ (พฺเบํ), ภาษาชอง แพ่ะ, ภาษาไทย แพะ
การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /pʰæʔ/
คำนาม
[แก้ไข]แพะ
- แพะ
หมวดหมู่:
- ศัพท์ที่เคยเสนอในรู้ไหมว่า
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่เลียนเสียงธรรมชาติ
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɛʔ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ตัว
- หน้าที่ใช้ชื่ออนุกรมวิธาน (species)
- คำตัดทอนภาษาไทย
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเขมร
- หน้าที่มีคำแปลภาษาจีนกลาง
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทใหญ่
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฝรั่งเศส
- หน้าที่มีคำแปลภาษาพม่า
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเยอรมัน
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเยอรมัน/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลาว
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอังกฤษ
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเวียดนาม
- ศัพท์ภาษาญัฮกุรที่สืบทอดจากภาษามอญเก่า
- ศัพท์ภาษาญัฮกุรที่รับมาจากภาษามอญเก่า
- ศัพท์ภาษาญัฮกุรที่สืบทอดจากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาญัฮกุรที่รับมาจากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาญัฮกุรที่เลียนเสียงธรรมชาติ
- ศัพท์ภาษาญัฮกุรที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาญัฮกุร
- คำนามภาษาญัฮกุร