เสียง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (เลิกใช้) สยง
รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *siəŋᴬ¹ (Jonsson, 1991), จากจีนยุคกลาง 聲 (MC syeng)[1]; ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᩈ᩠ᨿᨦ (สยง), ลาว ສຽງ (สย̂ง), ไทลื้อ ᦵᦉᧂ (เสง), ไทดำ ꪎꪸꪉ (สย̂ง), ไทขาว ꪎꪸꪉ, ไทใหญ่ သဵင် (เสง), ไทใต้คง ᥔᥥᥒᥴ (เส๋ง), อ่ายตน ꩬိင် (สิง์), พ่าเก ꩬိင် (สิง์), อาหม 𑜏𑜢𑜂𑜫 (สิง์); เกี่ยวข้องกับ สำเนียง
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เสียง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sǐiang |
ราชบัณฑิตยสภา | siang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sia̯ŋ˩˩˦/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]เสียง (คำลักษณนาม เสียง)
- สิ่งที่รับรู้ได้ด้วยหู
- เสียงฟ้าร้อง
- เสียงเพลง
- เสียงพูด
- ความเห็น
- เรื่องนี้ฉันไม่ออกเสียง
- ความนิยม
- คนนี้เสียงดี มีหวังได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
- คะแนนเสียง
- ลงมติกันแล้วเขาชนะเพราะได้เสียงข้างมาก
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ Pittayaporn, Pittayawat (2014), chapter Layers of Chinese Loanwords in Proto-Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai, in MANUSYA: Journal of Humanities, volume 20 (special issue), Bangkok: Chulalongkorn University, ISSN 0859-9920, pages 47–68.
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /siaŋ˨˦/
คำนาม
[แก้ไข]เสียง
- อีกรูปหนึ่งของ ᩈ᩠ᨿᨦ (สยง)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- สัมผัส:ภาษาไทย/ia̯ŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำลักษณนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม เสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย