ฌาน
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
เนื้อหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
จากภาษาบาลี ฌาน; เทียบภาษาสันสกฤต ध्यान (ธฺยาน)
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | ชาน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | chaan |
ราชบัณฑิตยสภา | chan | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰaːn˧/ | |
คำพ้องเสียง |
คำนาม[แก้ไข]
ฌาน
- (ศาสนาพุทธ) ภาวะที่จิตสงบแน่วแน่เนื่องมาจากการเพ่งอารมณ์ หรือการเพ่งอารมณ์จนจิตแน่วแน่เป็นสมาธิ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ รูปฌาน กับ อรูปฌาน
ภาษาบาลี[แก้ไข]
รูปแบบอื่น[แก้ไข]
เขียนด้วยอักษรอื่น
รากศัพท์[แก้ไข]
เทียบภาษาสันสกฤต ध्यान (ธฺยาน)
คำนาม[แก้ไข]
ฌาน ก.
- ฌาน
การผันรูป[แก้ไข]
ตารางการผันรูปของ "ฌาน" (เพศกลาง)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | ฌานํ | ฌานานิ |
กรรมการก (ทุติยา) | ฌานํ | ฌานานิ |
กรณการก (ตติยา) | ฌาเนน | ฌาเนหิ หรือ ฌาเนภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | ฌานสฺส หรือ ฌานาย หรือ ฌานตฺถํ | ฌานานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | ฌานสฺมา หรือ ฌานมฺหา หรือ ฌานา | ฌาเนหิ หรือ ฌาเนภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | ฌานสฺส | ฌานานํ |
สถานการก (สัตตมี) | ฌานสฺมิํ หรือ ฌานมฺหิ หรือ ฌาเน | ฌาเนสุ |
สัมโพธนาการก (อาลปนะ) | ฌาน | ฌานานิ |