เซ็น
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เซ็น | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sen |
ราชบัณฑิตยสภา | sen | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sen˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาญี่ปุ่น 禅 (zen), จากภาษาจีนยุคกลาง 禪 (MC dzyen), ย่อมาจาก 禪那 (MC dzyen na), จากภาษาสันสกฤต ध्यान (ธฺยาน); ร่วมรากกับ ฌาน
สะกดตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน/หลักเกณฑ์ของราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2535/สำนักงานราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. 2561
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]คำวิสามานยนาม
[แก้ไข]เซ็น
- นิกายหนึ่งในพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน แพร่หลายในญี่ปุ่น เป็นการปฏิบัติธรรมเพื่อให้บรรลุความรู้แจ้งอย่างฉับพลัน โดยการทำสมาธิและใช้ปัญญาขบคิดปริศนาธรรม
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]เซ็น
คำกริยา
[แก้ไข]เซ็น (คำอาการนาม การเซ็น)
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาอังกฤษ sign
คำกริยา
[แก้ไข]เซ็น (คำอาการนาม การเซ็น)
- (ภาษาปาก) ลงลายมือชื่อ
- เซ็นชื่อ
- (ภาษาปาก) ซื้อโดยค้างชำระเงินและผู้ขายลงบัญชีไว้เป็นหลักฐาน
- เซ็นค่าก๋วยเตี๋ยวไว้ก่อน
ลูกคำ
[แก้ไข]คำพ้องความ
[แก้ไข]รากศัพท์ 4
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทใหญ่ သဵၼ် (เสน), ภาษาอาหม 𑜏𑜢𑜃𑜫 (สิน์)
คำกริยา
[แก้ไข]เซ็น
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/en
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาญี่ปุ่น
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาญี่ปุ่น
- ญี่ปุ่น terms with non-redundant manual transliterations
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่ร่วมราก
- คำหลักภาษาไทย
- คำวิสามานยนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่สะกดด้วย ◌็
- คำนามภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษ
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาอังกฤษ
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาไทยที่ใช้ในบทร้อยกรอง