ชาน
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ชาน | |
การแผลงเป็นอักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | chaan |
ราชบัณฑิตยสภา | chan | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰaːn˧/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]ชาน
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับลาว ຊານ (ซาน), คำเมือง ᨩᩣ᩠ᨶ (ชาน), เขิน ᨩᩣ᩠ᨶ (ชาน), ไทลื้อ ᦋᦱᧃ (ชาน), ไทใหญ่ ၸၢၼ်း (จ๊าน)
คำนาม
[แก้ไข]ชาน
- เรียกพื้นเรือนนอกชายคาว่า นอกชาน
- เรียกพื้นที่นอกตัวเรือน ตัวเมืองหรือตัวกำแพง เป็นต้น ออกไป
- ชานกำแพง
- ชานเขื่อน
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]ยืมมาจากพม่า ရှမ်း (หฺรม์:) หรือ သျှမ်း (สฺหฺยม์:), จากไทย สยาม; ร่วมรากกับ สยาม; เป็นคำทับศัพท์ระบบราชบัณฑิตยสถาน
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]คำวิสามานยนาม
[แก้ไข]ชาน
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /t͡ɕaːn˧˧/
คำนาม
[แก้ไข]ชาน
- อีกรูปหนึ่งของ ᨩᩣ᩠ᨶ (ชาน)
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːn
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาพม่า
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาพม่า
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมกลับไปยังภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ร่วมราก
- คำวิสามานยนามภาษาไทย
- th:พม่า
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย