อ้อย
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʔoːjꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน อ้อย, ภาษาลาว ອ້ອຍ (อ้อย), ภาษาคำเมือง ᩋᩬ᩠᩶ᨿ (ออ้ย), ภาษาเขิน ᩋᩭ᩶ (ออย้), ภาษาไทลื้อ ᦀᦾᧉ (อ้อ̂ย), ภาษาไทดำ ꪮ꫁ꪮꪥ (อ้อย), ภาษาไทขาว ꪮꪮꪥꫂ, ภาษาไทใหญ่ ဢွႆႈ (อ้อ̂ย), ภาษาจ้วง oij
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ {ไม่ตามอักขรวิธี; เสียงสระสั้น} | อ็้อย | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | ɔ̂i |
ราชบัณฑิตยสภา | oi | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ʔɔj˥˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]อ้อย
- ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Saccharum officinarum L. ในวงศ์ Gramineae ขึ้นเป็นกอ ลำต้นเป็นปล้อง ข้างในตัน มีหลายพันธุ์ เช่น อ้อยขาไก่ อ้อยตะเภา หีบเอานํ้าหวานทำนํ้าตาลทรายหรือใช้ดื่ม หรือเคี้ยวกินแต่นํ้าหวาน
คำประสม
[แก้ไข]ภาษากะเหรี่ยงโปเหนือ
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (อมก๋อย) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /ʔɔ̂i/
คำกริยา
[แก้ไข]อ้อย
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /ʔɔːj˦˦ʔ/
คำนาม
[แก้ไข]อ้อย
- อีกรูปหนึ่งของ ᩋᩬ᩠᩶ᨿ (ออ้ย)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔj
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- หน้าที่ใช้ชื่ออนุกรมวิธาน (species)
- th:พืช
- th:อาหาร
- ศัพท์ภาษากะเหรี่ยงโปเหนือที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษากะเหรี่ยงโปเหนือ
- คำกริยาภาษากะเหรี่ยงโปเหนือ
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่ใช้เครื่องหมายเสริมสัทอักษร