ปล้อง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับลาว ປ້ອງ (ป้อง), ไทลื้อ ᦔᦸᧂᧉ (ป้อ̂ง), ไทใหญ่ ပွင်ႈ (ป้อ̂ง), อาหม 𑜆𑜨𑜂𑜫 (ปอ̂ง์); เป็นไปได้ว่าเกี่ยวข้องกับ บ้อง
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ {ไม่ตามอักขรวิธี; เสียงสระสั้น} | ปฺล็้อง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | bplɔ̂ng |
ราชบัณฑิตยสภา | plong | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /plɔŋ˥˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]ปล้อง
- ช่วงระยะระหว่างข้อของไม้ไผ่หรืออ้อย
- โดยปริยายใช้เรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น
- คอปล้อง
- คอที่มีริ้วรอยเห็นเป็นปล้อง ๆ
- (หญ้า~) ชื่อหญ้าชนิด Hymenachne amplexicaule (Rudge) Nees ในวงศ์ Gramineae ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ ต้นเป็นข้อ ๆ มีไส้ในระหว่างข้อเป็นปุยขาว
คำวิสามานยนาม
[แก้ไข]ปล้อง