มัชฌิมชนบท

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาบาลี มชฺฌิม + ชนปท; เหมือนกับ มัชฌิม +‎ ชนบท

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์
{เสียงพยัญชนะซ้ำ}
มัด-ชิ-มะ-ชน-นะ-บดมัด-ชิม-มะ-ชน-นะ-บดมัด-ชิม-ชน-นะ-บด
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmát-chí-má-chon-ná-bòtmát-chim-má-chon-ná-bòtmát-chim-chon-ná-bòt
ราชบัณฑิตยสภาmat-chi-ma-chon-na-botmat-chim-ma-chon-na-botmat-chim-chon-na-bot
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/mat̚˦˥.t͡ɕʰi˦˥.ma˦˥.t͡ɕʰon˧.na˦˥.bot̚˨˩/(สัมผัส)/mat̚˦˥.t͡ɕʰim˧.ma˦˥.t͡ɕʰon˧.na˦˥.bot̚˨˩/(สัมผัส)/mat̚˦˥.t͡ɕʰim˧.t͡ɕʰon˧.na˦˥.bot̚˨˩/(สัมผัส)

คำวิสามานยนาม[แก้ไข]

มัชฌิมชนบท

  1. (ศาสนาพุทธ) ในสมัยพุทธกาลหมายถึง ดินแดนส่วนกลางของประเทศอินเดียอันเป็นที่อยู่ของพวกอริยกะ เป็นถิ่นที่อุดมสมบูรณ์ เป็นที่ตั้งนครใหญ่ ๆ เป็นศูนย์กลางการปกครอง และเป็นที่ประชุมของนักปราชญ์ คณาจารย์ เจ้าลัทธิต่าง ๆ