ลิเก
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมโดยกึ่งเรียนรู้จากเปอร์เซียคลาสสิก ذکر (ษิกร, “การเอ่ยถึง”), จากภาษาอาหรับ ذِكْر (ษิกร, “การรำลึก”)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ลิ-เก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | lí-gee |
ราชบัณฑิตยสภา | li-ke | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /li˦˥.keː˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]ลิเก
คำกริยา
[แก้ไข]ลิเก
- (ภาษาปาก, สแลง) ใช้คำหรูหราหรือใช้ความเปรียบมากเกินความจำเป็นจนฟังดูเชย
- ท่าทางก็ไม่เชย แต่ทำไมพูดจาลิเกจัง
- (ภาษาปาก, สแลง) พูดเพ้อเจ้อเลื่อนลอย
- งานกระจอกแบบนี้เขาจะยกขบวนนักร้องดังมาร้องเพลงเชียวรึ พูดลิเกไปได้
- (ภาษาปาก, สแลง) แต่งตัวให้หรูหราเกินพอดีจนดูเชย
- จะไปงานทำบุญแค่นี้ก็ใส่เพชรเต็มตัว ลิเกจัง
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาเปอร์เซียคลาสสิก
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมโดยกึ่งเรียนรู้จากภาษาเปอร์เซียคลาสสิก
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาเปอร์เซียคลาสสิก
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาอาหรับ
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาอาหรับ
- สัมผัส:ภาษาไทย/eː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- สแลงภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้