อุทาน
หน้าตา
ดูเพิ่ม: อิทานิ
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | อุ-ทาน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | ù-taan |
ราชบัณฑิตยสภา | u-than | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ʔu˨˩.tʰaːn˧/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | อุทาร |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ยืมมาจากสันสกฤต उदान (อุทาน) หรือบาลี อุทาน
คำนาม
[แก้ไข]อุทาน
- เสียงหรือคำที่เปล่งออกมาเวลาตกใจ ดีใจ หรือเสียใจ เป็นต้น
- (ไวยากรณ์) เรียกคำหรือเสียงที่เปล่งออกมาเช่นนั้นว่า คำอุทาน
คำกริยา
[แก้ไข]อุทาน (คำอาการนาม การอุทาน)
- เปล่งเสียงหรือคำออกมาเวลาตกใจ ดีใจ หรือเสียใจ เป็นต้น
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]คำวิสามานยนาม
[แก้ไข]อุทาน
- ชื่อคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาส่วน 1 ใน 9 ส่วนที่เรียกว่า นวังคสัตถุศาสน์
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːn
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- th:ไวยากรณ์
- คำกริยาภาษาไทย
- คำวิสามานยนามภาษาไทย