เอียน

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: เอย็น

ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์เอียน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงiian
ราชบัณฑิตยสภาian
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ʔia̯n˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

เอียน

  1. ชวนให้คลื่นไส้ (มักใช้แก่รสหวาน)
  2. เบื่อมาก
    ฉันเอียนหน้าเขาเต็มทีแล้ว

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩋ᩠ᨿ᩵ᩁ (อย่ร) หรือ ᩀ᩠ᨿ᩵ᩁ (ย̱ย่ร), ภาษาอีสาน เอียน, ภาษาลาว ອ່ຽນ (อ่ย̂น), ภาษาไทลื้อ ᦵᦊᧃᧈ (เหฺย่น), ภาษาไทใหญ่ ယဵၼ်ႇ (เย่น), ภาษาไทใต้คง ᥕᥥᥢᥱ (เย่น)

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

เอียน

  1. (ล้าสมัย) ปลาไหลนา

ภาษาอีสาน[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เอียน หรือ เอี่ยน หรือ เหยี่ยน, ภาษาคำเมือง ᩋ᩠ᨿ᩵ᩁ (อย่ร) หรือ ᩀ᩠ᨿ᩵ᩁ (ย̱ย่ร), ภาษาลาว ອ່ຽນ (อ่ย̂น), ภาษาไทลื้อ ᦵᦊᧃᧈ (เหฺย่น), ภาษาไทใหญ่ ယဵၼ်ႇ (เย่น), ภาษาไทใต้คง ᥕᥥᥢᥱ (เย่น)

คำนาม[แก้ไข]

เอียน

  1. ปลาไหลนา