ᦉᧅ
หน้าตา
ภาษาไทลื้อ
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /sak̚˧˥/
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับไทย สัก, ลาว ສັກ (สัก), คำเมือง ᩈᩢ᩠ᨠ (สัก), เขิน ᩈᩢ᩠ᨠ (สัก)
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ᦉᧅ (สัก) (อักษรไทธรรม ᩈᩢ᩠ᨠ)
ลูกคำ
[แก้ไข]สัก
- ᦉᧅᦀᦲᧆᦉᧅᦐᦾᧈ (สักอีดสักหฺน่อ̂ย)
- ᦉᧅᦅᦻ (สักคาย)
| width=1% | |bgcolor="#F9F9F9" valign=top align=left width=48%|
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับไทย สัก, ลาว ສັກ (สัก), คำเมือง ᩈᩢ᩠ᨠ (สัก), เขิน ᩈᩢ᩠ᨠ (สัก), ไทใหญ่ သၵ်း (สั๊ก)
คำกริยา
[แก้ไข]ᦉᧅ (สัก) (อักษรไทธรรม ᩈᩢ᩠ᨠ, คำอาการนาม ᦂᦱᧃᦉᧅ)
- (สกรรม) สัก
- (สกรรม) เสียบ, สัก, แทง, เจาะ
- (สกรรม) ฉีด
- (สกรรม) จิกด้วยจะงอยปาก, ฉก (ใช้แก่งู)
- (สกรรม) คาบด้วยปากสัตว์ปีก
- (สกรรม) จ้องมอง
ลูกคำ
[แก้ไข]สัก
เสียบ, เจาะ
- ᦉᧅᦂᦵᦡᧃ (สักกเดน)
- ᦉᧅᦉᦻᧈ (สักส่าย)
- ᦉᧅᦌᦴᧉᦉᧅᦉᦻᧈ (สักซู้สักส่าย)
| width=1% | |bgcolor="#F9F9F9" valign=top align=left width=48%|
- ᦉᧅᦑᧁᧉ (สักเท้า)
- ᦣᦴᧉᦜᧅᦉᧅᦉᦱᧆ (ฮู้หฺลักสักสาด)
- ᦩᦱᧄᦣᦴᧉᦜᧅᦉᧅᦉᦱᧆ (ฅฺวามฮู้หฺลักสักสาด)
จิก
จ้องมอง
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับไทย สัก, ลาว ສັກ (สัก), คำเมือง ᩈᩢ᩠ᨠ (สัก), เขิน ᩈᩢ᩠ᨠ (สัก), ไทใหญ่ သၵ်း (สั๊ก)
คำนาม
[แก้ไข]ᦉᧅ (สัก) (อักษรไทธรรม ᩈᩢ᩠ᨠ, คำลักษณนาม ᦎᦳᧃᧉ)
ลูกคำ
[แก้ไข]ไม้สัก
รากศัพท์ 4
[แก้ไข]คำศัพท์
[แก้ไข]ᦉᧅ (สัก) (อักษรไทธรรม ᩈᩢ᩠ᨠ หรือ ᩆᩢᨠ᩠ᨲᩥ᩼, คำอาการนาม ᦩᦱᧄᦉᧅ)
ลูกคำ
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทลื้อ
- คำคุณศัพท์ภาษาไทลื้อ
- คำคุณศัพท์ภาษาไทลื้อในอักษรไทลื้อใหม่
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทลื้อ/l
- คำกริยาภาษาไทลื้อ
- คำกริยาภาษาไทลื้อในอักษรไทลื้อใหม่
- คำสกรรมกริยาภาษาไทลื้อ
- คำนามภาษาไทลื้อ
- คำนามภาษาไทลื้อในอักษรไทลื้อใหม่
- คำนามภาษาไทลื้อที่ใช้คำลักษณนาม ᦎᦳᧃᧉ
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่รับมาจากภาษาสันสกฤต