ข้ามไปเนื้อหา

ᨩᩪ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาเขิน

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຊູ (ตกลงเป็นผัวเมียโดยไม่แต่งงานกัน), ภาษาคำเมือง ᨩᩪ (ชู), ภาษาไทลื้อ ᦋᦴ (ชู), ภาษาไทใหญ่ ၸူး (จู๊)

คำกริยา

[แก้ไข]

ᨩᩪ (ชู) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨩᩪ)

  1. (สกรรม) ยอม, ยอมรับ
    คำพ้องความ: ᨿᩬᨾ (ยอม)

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขิน ᨩᩪ (ชู), ภาษาไทใหญ่ ၸူး (จู๊)

คำกริยา

[แก้ไข]

ᨩᩪ (ชู) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨩᩪ)

  1. (สกรรม) ไปหา

รากศัพท์ 3

[แก้ไข]

อาจร่วมเชื้อสายกับภาษาไทใหญ่ ၸူး (จู๊, ส่วนแบ่ง)

คำกริยา

[แก้ไข]

ᨩᩪ (ชู) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨩᩪ)

  1. (สกรรม) ให้
    คำพ้องความ: ᨸᩢ᩠ᨶ (ปัน), ᩉᩨ᩶ (หื้)

อ้างอิง

[แก้ไข]
  • ᨩᩣ᩠ᨿᨪᩮᨩᩮ᩠ᨾ. (n.d.). ᩋᨽᩥᨵᩤᨶᩈᩢ᩠ᨷᩅᩰᩉᩣ᩠ᩁᨸᩖᩯᨽᩣᩈᩣᨡᩨ᩠ᨶ.

ภาษาคำเมือง

[แก้ไข]

รูปแบบอื่น

[แก้ไข]
  • (ถอดอักษร) ชู
  • (ถอดเสียง) จู

การออกเสียง

[แก้ไข]

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຊູ (ตกลงเป็นผัวเมียโดยไม่แต่งงานกัน), ภาษาเขิน ᨩᩪ (ชู), ภาษาไทลื้อ ᦋᦴ (ชู), ภาษาไทใหญ่ ၸူး (จู๊)

คำกริยา

[แก้ไข]

ᨩᩪ (ชู) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨩᩪ)

  1. (สกรรม) ยอม, ยอมรับ
  2. (สกรรม) ตกลง
  3. (สกรรม) สมสู่
  4. (สกรรม) อยู่ด้วยกัน

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขิน ᨩᩪ (ชู), ภาษาไทใหญ่ ၸူး (จู๊)

คำกริยา

[แก้ไข]

ᨩᩪ (ชู) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨩᩪ)

  1. (สกรรม) ไปหา

อ้างอิง

[แก้ไข]
  • พจนานุกรมภาษาล้านนา = The Lanna dictionary (พิมพ์ครั้งที่ 2). (พ.ศ. 2550). เชียงใหม่: สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.