䜌
หน้าตา
|
ภาษาร่วม
[แก้ไข]รากอักษร
[แก้ไข]รูปในอดีตของตัวอักษร 䜌 | ||
---|---|---|
ร. โจวตะวันตก | ซัวเหวินเจี่ยจื้อ (แต่งใน ร. ฮั่น) | ลิ่วซูถ่ง (แต่งใน ร. หมิง) |
รอยจารึกสัมฤทธิ์ | อักษรประทับเล็ก | อักษรโบราณคัดลอก |
แม่แบบ:liushu: 絲 + 言 ถูกย่อเหลือ 亦 ในอักษรบางตัว
ยกเว้น 奕 ที่ไม่เกี่ยวข้องกับ 奱
อักษรจีน
[แก้ไข]䜌 (รากคังซีที่ 149, 言+12, 19 ขีด, การป้อนชางเจี๋ย 女火卜口火 (VFYRF), การประกอบ ⿲糸言糸)
- (รูปโบราณ) ความโกลาหล
- ความว้าวุ่นใจ
- ความสับสน, สับสน
- อย่างต่อเนื่อง, ซึ่งไม่ถูกขัด
- รวมเข้าด้วยกัน, จัดการ
อักษรเกี่ยวข้อง
[แก้ไข]戀, 鑾, 巒, 灓, 𨷻, 攣, 孌, 彎, 蠻, 㪻, 孿, 奱, 變, 矕, 鸞, 欒, 曫, 㱍, 𥀺
อ้างอิง
[แก้ไข]- พจนานุกรมคังซี: หน้า 1180 อักขระตัวที่ 10
- พจนานุกรมฮั่นยฺหวี่ต้าจื้อเตี่ยน (ฉบับพิมพ์ครั้งแรก): เล่ม 5 หน้า 3461 อักขระตัวที่ 8
- ข้อมูลยูนิฮันสำหรับ U+470C
ภาษาจีน
[แก้ไข]ตัวย่อและตัวเต็ม |
䜌 |
---|
การออกเสียง
[แก้ไข]- จีนกลาง
- (จีนมาตรฐาน)+
- พินอิน:
- จู้อิน: ㄌㄨㄢˊ
- ทงย่งพินอิน: luán
- เวด-ไจลส์: luan2
- เยล: lwán
- กั๋วยฺหวี่หลัวหม่าจื้อ: luan
- พัลลาดีอุส: луань (luanʹ)
- สัทอักษรสากลจีนวิทยา(คำอธิบาย): /lu̯än³⁵/
- (จีนมาตรฐาน)+
- กวางตุ้ง
- (Standard Cantonese, Guangzhou–Hong Kong)
- Jyutping: lyun4
- Yale: lyùhn
- Cantonese Pinyin: lyn4
- Guangdong Romanization: lün4
- สัทอักษรสากลจีนวิทยา (key): /lyːn²¹/
- (Standard Cantonese, Guangzhou–Hong Kong)
- จีนยุคกลาง: lwan, ljwen, ljwenH
- จีนเก่า
- (แบกซ์เตอร์–ซาการ์): /*mə.rˤo[n]/
- (เจิ้งจาง): /*b·roːn/, /*b·ron/, /*b·rons/
หมวดหมู่:
- กล่องอักขระที่มีรูปภาพ
- บล็อก CJK Unified Ideographs Extension A
- อักขระอักษรจีน
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาจีน/m
- คำหลักภาษาร่วม
- สัญลักษณ์ภาษาร่วม
- ร่วม terms with non-redundant non-automated sortkeys
- zh-pron usage missing POS
- คำหลักภาษาจีน
- คำหลักภาษาจีนกลาง
- คำหลักภาษากวางตุ้ง
- คำหลักภาษาจีนยุคกลาง
- คำหลักภาษาจีนเก่า
- ฮั่นจื้อภาษาจีน
- ฮั่นจื้อภาษาจีนกลาง
- ฮั่นจื้อภาษากวางตุ้ง
- ฮั่นจื้อภาษาจีนยุคกลาง
- ฮั่นจื้อภาษาจีนเก่า
- ศัพท์ภาษาจีนที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาจีนที่สะกดด้วย 䜌