หนุ่ม
หน้าตา
ดูเพิ่ม: หนิม
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰnumᴮ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ໜຸ່ມ (หนุ่ม), ภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨶᩩ᩵ᨾ (หนุ่ม), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᨶᩩ᩵ᨾ (หนุ่ม), ภาษาไทลื้อ ᦐᦳᧄᧈ (หฺนุ่ม), ภาษาไทดำ ꪘꪴ꪿ꪣ (หฺนุ่ม), ภาษาไทขาว ꪘꪮꪝꫀ หรือ ꪶꪘꪝꫀ, ภาษาไทใหญ่ ၼုမ်ႇ (นุ่ม), ภาษาไทใต้คง ᥘᥧᥛᥱ (ลู่ม) หรือ ᥢᥧᥛᥱ (นู่ม), ภาษาอาหม 𑜃𑜤𑜉𑜫 (นุม์); เทียบภาษาชวา nom; อาจผ่านการเพิ่มความแคบทางความหมายเพราะในภาษาไทอื่นคำนี้สามารถใช้กับชายหรือหญิง
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | หฺนุ่ม | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | nùm |
ราชบัณฑิตยสภา | num | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /num˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]หนุ่ม
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]หนุ่ม (คำอาการนาม ความหนุ่ม)