ขิง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *χiːŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຂີງ (ขีง), ภาษาไทลื้อ ᦃᦲᧂ (ฃีง), ภาษาไทดำ ꪄꪲꪉ (ฃิง), ภาษาไทใต้คง ᥑᥤᥒᥴ (ฃี๋ง), ภาษาไทใหญ่ ၶိင် (ขิง), ภาษาอาหม 𑜁𑜢𑜂𑜫 (ขิง์), ภาษาจ้วง hing หรือ ging, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง king (ขิง); เทียบภาษาจีนยุคกลาง 薑 (MC kjang), ภาษาไหลดั้งเดิม *kʰɯːŋ
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ขิง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | kǐng |
ราชบัณฑิตยสภา | khing | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰiŋ˩˩˦/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]ขิง (คำลักษณนาม หัว หรือ แง่ง)
- ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Zingiber officinale Roscoe ในวงศ์ Zingiberaceae เหง้ามีกลิ่น รสเผ็ด ใช้ประกอบอาหารและทำยาได้, ขิงแกลง หรือ ขิงแครง ก็เรียก
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาจ้วง/m
- สัมผัส:ภาษาไทย/iŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม หัว
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม แง่ง
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทใหญ่
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฝรั่งเศส
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเยอรมัน
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเยอรมัน/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลาว
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอังกฤษ