เหง้า
หน้าตา
ดูเพิ่ม: เหงา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (เลิกใช้) เง่า
รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰŋawꟲ¹, จากจีนเก่า 藕 (OC *ŋoːʔ, “รากบัว”);[1] ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᩉ᩠ᨦᩮᩢ᩶ᩣ (หเงั้า), ลาว ເຫງົ້າ (เหง็้า), ไทลื้อ ᦄᧁᧉ (หฺเง้า), ไทใหญ่ ငဝ်ႈ (ง้ว), อาหม 𑜂𑜧 (งว์), 𑜂𑜨𑜧 (งอ̂ว์), หรือ 𑜂𑜧𑜈𑜫 (งว์ว์)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เง่า | |
---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | ngâo |
ราชบัณฑิตยสภา | ngao | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ŋaw˥˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]เหง้า
อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ Pittayaporn, Pittayawat (2014), chapter Layers of Chinese Loanwords in Proto-Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai, in MANUSYA: Journal of Humanities, volume 20 (special issue), Bangkok: Chulalongkorn University, ISSN 0859-9920, pages 47–68.