ชมพู่
ภาษาไทย[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
จากภาษาสันสกฤต जम्बु (ชมฺพุ) หรือ जम्बू (ชมฺพู); เทียบภาษาเขมรเก่า ជម្វូ (ชมฺวู), ภาษาเขมร ជម្ពូ (ชมฺพู); ร่วมรากกับ ชมพู (ทั้งสองรากศัพท์)
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | ชม-พู่ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | chom-pûu |
ราชบัณฑิตยสภา | chom-phu | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰom˧.pʰuː˥˩/(สัมผัส) | |
ไฟล์เสียง |
คำนาม[แก้ไข]
ชมพู่
- ชื่อไม้ต้นขนาดกลางหลายชนิดในสกุล Syzygium วงศ์ Myrtaceae ผลกินได้ เช่น ชมพู่แก้มแหม่ม [S. samarangense (Blume) Merr. et L. M. Perry var. samarangense] ชมพู่นํ้าดอกไม้ [S. jambos (L.) Alston] ชมพู่สาแหรก [S. malaccensis (L.) Merr. et L. M. Perry]
ภาษาปักษ์ใต้[แก้ไข]
รูปแบบอื่น[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
เทียบภาษามาเลเซีย jambu (ในคำ jambu batu, jambu biji)
คำนาม[แก้ไข]
ชมพู่
- ฝรั่ง (ผลไม้)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาสันสกฤต/m
- ศัพท์ภาษาไทยที่ร่วมราก
- สัมผัส:ภาษาไทย/uː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีลิงก์เสียง
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษามาเลเซีย/m
- คำหลักภาษาปักษ์ใต้
- คำนามภาษาปักษ์ใต้
- attention lacking explanation