พล

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: พลี, พลุ, พลู, และ พูล

ภาษาไทย[แก้ไข]

วิกิพีเดียมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาสันสกฤต बल (พล, กำลัง), จากภาษาบาลี พล (กำลัง)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์พน[เสียงสมาส]
พน-ละ-
[เสียงสมาส]
พะ-ละ-
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงponpon-lá-pá-lá-
ราชบัณฑิตยสภาphonphon-la-pha-la-
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/pʰon˧/(สัมผัส)/pʰon˧.la˦˥.//pʰa˦˥.la˦˥./
คำพ้องเสียงพน

คำนาม[แก้ไข]

พล

  1. กำลัง, มักใช้ประกอบคำอื่น
    พระทศพล
    ทรงมีพระญาณอันเป็นกำลัง 10 ประการ (พระนามพระพุทธเจ้า)
    พลศึกษา
  2. ทหาร
    กองพล
    ตรวจพล
    ยกพลขึ้นบก
  3. สามัญ, ธรรมดา ๆ, พื้น
    ของพล ๆ
  4. ยศทหารและตำรวจสัญญาบัตรรองจากจอมพล (เดิมใช้ว่า นายพล)

คำเกี่ยวข้อง[แก้ไข]

คำวิสามานยนาม[แก้ไข]

พล

  1. ชื่ออำเภอหนึ่งในจังหวัดขอนแก่น
ดูเพิ่ม[แก้ไข]

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์พอ-ลอ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงpɔɔ-lɔɔ
ราชบัณฑิตยสภาpho-lo
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/pʰɔː˧.lɔː˧/(สัมผัส)

คำวิสามานยนาม[แก้ไข]

พล

  1. อักษรย่อของ พิษณุโลก

ดูเพิ่ม[แก้ไข]

ภาษาบาลี[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

พลฺ +‎

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

พล ก.

  1. พล

การผันรูป[แก้ไข]

แจกตามแบบ กุล