ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยัน"

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘'''(%pn%)'''’ ด้วย ‘$1’
บรรทัดที่ 7: บรรทัดที่ 7:
{{th-verb}}
{{th-verb}}
# [[ต้าน]][[ไว้]], [[ทาน]][[ไว้]], [[ดัน]][[ไว้]]
# [[ต้าน]][[ไว้]], [[ทาน]][[ไว้]], [[ดัน]][[ไว้]]
{{ตย|'''ยัน'''ประตูไว้ไม่ให้ล้ม}}
{{ตย|ยันประตูไว้ไม่ให้ล้ม}}
# [[ค้ำ]][[ไว้]]
# [[ค้ำ]][[ไว้]]
{{ตย|ถือไม้เท้า'''ยัน'''กาย}}
{{ตย|ถือไม้เท้ายันกาย}}
# [[ดัน]][[ตัว]][[ขึ้น]]
# [[ดัน]][[ตัว]][[ขึ้น]]
{{ตย|เอามือ'''ยัน'''ตัวลุกขึ้นจากพื้น}}
{{ตย|เอามือยันตัวลุกขึ้นจากพื้น}}
# [[จด]]
# [[จด]]
{{ตย|เอาหลัง'''ยัน'''กัน}}
{{ตย|เอาหลังยันกัน}}
{{ตย|นอนหัว'''ยัน'''ฝา}}
{{ตย|นอนหัวยันฝา}}
{{ตย|โตจนตัว'''ยัน'''เปล}}
{{ตย|โตจนตัวยันเปล}}
# [[ประจัน]]
# [[ประจัน]]
{{ตย|ตั้งกองทัพ'''ยัน'''กัน}}
{{ตย|ตั้งกองทัพยันกัน}}
# [[ยืนยัน]]
# [[ยืนยัน]]
{{ตย|เขา'''ยัน'''ว่าเขาไม่ได้ทำผิด}}
{{ตย|เขายันว่าเขาไม่ได้ทำผิด}}
# {{บริบท|ปาก|lang=th}} [[ถีบ]]
# {{บริบท|ปาก|lang=th}} [[ถีบ]]
{{ตย|เดี๋ยว'''ยัน'''เปรี้ยงเข้าให้}}
{{ตย|เดี๋ยวยันเปรี้ยงเข้าให้}}


==== คำกริยาวิเศษณ์ ====
==== คำกริยาวิเศษณ์ ====
{{th-adv|-}}
{{th-adv|-}}
# {{บริบท|ปาก|lang=th}} [[เสมอ]], [[ตลอด]]
# {{บริบท|ปาก|lang=th}} [[เสมอ]], [[ตลอด]]
{{ตย|โกหก'''ยัน'''เลย}}
{{ตย|โกหกยันเลย}}
{{ตย|นอน'''ยัน'''เลย}}
{{ตย|นอนยันเลย}}


==== คำสันธาน ====
==== คำสันธาน ====
{{th-con}}
{{th-con}}
# [[จนถึง]], [[กระทั่ง]][[ถึง]]
# [[จนถึง]], [[กระทั่ง]][[ถึง]]
{{ตย|เที่ยว'''ยัน'''สว่าง}}
{{ตย|เที่ยวยันสว่าง}}


=== รากศัพท์ 2 ===
=== รากศัพท์ 2 ===
บรรทัดที่ 38: บรรทัดที่ 38:
{{th-verb|-}}
{{th-verb|-}}
# [[เมา]] ([[ใช้]][[แก่]][[หมาก]])
# [[เมา]] ([[ใช้]][[แก่]][[หมาก]])
{{ตย|'''ยัน'''หมาก}}
{{ตย|ยันหมาก}}
{{ตย|เอาหมากที่'''ยัน'''ไปแช่น้ำจะหาย'''ยัน'''}}
{{ตย|เอาหมากที่ยันไปแช่น้ำจะหายยัน}}


==== คำคุณศัพท์ ====
==== คำคุณศัพท์ ====

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:02, 2 ตุลาคม 2559

ภาษาไทย

การออกเสียง

การแบ่งพยางค์ยัน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงyan
ราชบัณฑิตยสภาyan
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/jan˧/(สัมผัส)
คำพ้องเสียง

รากศัพท์ 1

คำกริยา

ยัน (คำอาการนาม การยัน)

  1. ต้านไว้, ทานไว้, ดันไว้
    ยันประตูไว้ไม่ให้ล้ม
  2. ค้ำไว้
    ถือไม้เท้ายันกาย
  3. ดันตัวขึ้น
    เอามือยันตัวลุกขึ้นจากพื้น
  4. จด
    เอาหลังยันกัน
    นอนหัวยันฝา
    โตจนตัวยันเปล
  5. ประจัน
    ตั้งกองทัพยันกัน
  6. ยืนยัน
    เขายันว่าเขาไม่ได้ทำผิด
  7. แม่แบบ:บริบท ถีบ
    เดี๋ยวยันเปรี้ยงเข้าให้

คำกริยาวิเศษณ์

ยัน

  1. แม่แบบ:บริบท เสมอ, ตลอด
    โกหกยันเลย
    นอนยันเลย

คำสันธาน

ยัน

  1. จนถึง, กระทั่งถึง
    เที่ยวยันสว่าง

รากศัพท์ 2

คำกริยา

ยัน

  1. เมา (ใช้แก่หมาก)
    ยันหมาก
    เอาหมากที่ยันไปแช่น้ำจะหายยัน

คำคุณศัพท์

ยัน

  1. ที่ทำให้เมา ในคำว่า หมากยัน