ภาษาในระหว่าง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]แปลตรงตัวจากภาษาอังกฤษ interlanguage[1][2][3]
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | พา-สา-ไน-ระ-หฺว่าง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | paa-sǎa-nai-rá-wàang |
ราชบัณฑิตยสภา | pha-sa-nai-ra-wang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pʰaː˧.saː˩˩˦.naj˧.ra˦˥.waːŋ˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]ภาษาในระหว่าง (คำลักษณนาม ภาษา)
- ภาษาหรือรูปแบบของภาษาหนึ่ง ที่มีลักษณะของมากกว่า 1 ภาษา เช่น การใช้ภาษาของผู้เรียนภาษาหนึ่งเป็นภาษาต่างประเทศ
- ภาษาในระหว่างของผู้เรียนชาวไทยที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ
อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ Phoocharoensil, S. (2009). A study of English relative clauses in the interlanguage of Thai EFL learners (Doctoral dissertation, Chulalongkorn University).
- ↑ Modehiran, P. (2005). Correction making among Thais and Americans: a study of cross-cultural and interlanguage pragmatics (Doctoral dissertation, Chulalongkorn University).
- ↑ Pin-ngern, A. (2015). An interlanguage pragmatic study of Thai EFL learners’ apology: Linguistic realization and metapragmatic awareness (Doctoral dissertation, Chulalongkorn University).