หน่อ
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰnɔːᴮ¹, จากไทดั้งเดิม *ʰnoːᴮ; ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᩉ᩠ᨶᩬᩴ᩵ (หนอํ่), เขิน ᩉ᩠ᨶᩳ᩵ (หนอ่), ลาว ໜໍ່ (หนํ่), ไทลื้อ ᦐᦸᧈ (หฺน่อ̂), ไทดำ ꪘꪷ꪿ (หฺนํ่), ไทขาว ꪘꪮꫀ, ไทใหญ่ ၼေႃႇ (น่อ̂), ไทใต้คง ᥘᥨᥝᥱ (โล่ว) หรือ ᥢᥨᥝᥱ (โน่ว), พ่าเก ꩫေႃ (นอ̂), อาหม 𑜃𑜦𑜡 (นอ̂), จ้วง noq
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | หฺน่อ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | nɔ̀ɔ |
ราชบัณฑิตยสภา | no | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /nɔː˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]หน่อ
- พืชที่งอกจากกอหรือเหง้าของต้นใหญ่
- หน่อไม้
- โดยปริยายเรียกสิ่งที่เกิดเช่นนั้น
- ลูก, ลูกชาย
- หน่อเนื้อเชื้อไข
- เชื้อสาย
- หน่อพุทธางกูร
- แผลเรื้อรังที่เกิดจากคุดทะราด เป็นตามฝ่าเท้า
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]หน่อ
- อีกรูปหนึ่งของ ᩉ᩠ᨶᩬᩴ᩵ (หนอํ่)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย