อาบ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʔaːpᴰ ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ອາບ (อาบ), ภาษาไทลื้อ ᦀᦱᧇ (อาบ), ภาษาคำเมือง ᩋᩣ᩠ᨷ (อาบ), ภาษาไทใหญ่ ဢၢပ်ႇ (อ่าป), ภาษาไทดำ ꪮꪱꪚ (อาบ), ภาษาไทขาว ꪮꪱꪚ, ภาษาไทใต้คง ᥟᥣᥙᥱ (อ่าป), ภาษาจ้วงแบบหนง aeb, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง ab, ภาษาจ้วง ab, ภาษาตั่ย áp

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์อาบ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงàap
ราชบัณฑิตยสภาap
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ʔaːp̚˨˩/(สัมผัส)

คำกริยา[แก้ไข]

อาบ (คำอาการนาม การอาบ)

  1. เอาน้ำรดตัวหรือลงในน้ำทั้งตัว เพื่อแก้ร้อนหรือชำระล้างเหงื่อไคลเป็นต้น เรียกว่า อาบน้ำ
  2. ชโลม, ทา, ทำให้ซึมซาบ
    อาบน้ำรัก
    ลูกศรอาบยาพิษ
  3. ไหลโซม
    เหงื่ออาบหน้า