เกลือ
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]
สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *klwɯəᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨠᩖᩮᩬᩥᩋ (กเลอิอ), ภาษาเขิน ᨠᩮᩬᩨ (เกอื), ภาษาลาว ເກືອ (เกือ), ภาษาไทลื้อ ᦵᦂᦲ (เกี), ภาษายอง ᨠᩮᩬᩥ, ภาษาไทดำ ꪹꪀ (เก), ภาษาไทใหญ่ ၵိူဝ် (เกิว), ภาษาอาหม 𑜀𑜢𑜤𑜈𑜫 (กึว์), ภาษาจ้วง gyu,ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง gwe(เกือ เจือ)
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | เกฺลือ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | glʉʉa |
ราชบัณฑิตยสภา | kluea | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /klɯa̯˧/(สัมผัส) |
คำนาม[แก้ไข]
เกลือ
- วัตถุที่มีรสเค็ม ใช้ประกอบอาหารเป็นต้น โดยทั่วไปได้มาจากน้ำทะเล
- (เคมี) สารประกอบซึ่งประกอบด้วยโลหะหรือหมู่ธาตุที่เทียบเท่าโลหะกับอนุมูลกรด
- (ภาษาปาก, สแลง) รางวัลที่ไร้ค่า (เช่นจากกาชา)
คำพ้องความ[แก้ไข]
- (1) เกลือสมุทร
คำเกี่ยวข้อง[แก้ไข]
คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]
(1) วัตถุที่มีรสเค็ม
|
(2) สารประกอบทางเคมี
คำสลับอักษร[แก้ไข]
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɯa̯
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ภาษาไทย:เคมี
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- สแลงภาษาไทย
- Requests for transliteration of จีนกลาง terms
- ศัพท์ที่มีการถอดอักษรซ้ำซ้อน/cmn
- ศัพท์ที่มีการถอดอักษรซ้ำซ้อน/mnc
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเยอรมัน/t+
- ศัพท์ที่มีการถอดอักษรซ้ำซ้อน/ii