เขี้ยว
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]
สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *χeːwꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน แข่ว หรือ แข้ว, ภาษาลาว ແຂ້ວ (แข้ว), ภาษาคำเมือง ᨡ᩠᩶ᨿᩅ (ข้ยว), ภาษาไทใหญ่ ၶဵဝ်ႈ (เข้ว), ภาษาคำตี้ ၵိဝ်ႛ, ภาษาอาหม 𑜁𑜢𑜈𑜫 (ขิว์), ภาษาจ้วง heuj, ภาษาจ้วงใต้ keuj
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | เขี้ยว | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | kîao |
ราชบัณฑิตยสภา | khiao | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰia̯w˥˩/(สัมผัส) |
คำนาม[แก้ไข]
เขี้ยว
- ฟันแหลมคมสำหรับฉีกเนื้อและอาหาร อยู่ระหว่างฟันหน้ากับกราม
- สิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น
- เขี้ยวหัวเทียน
- เขี้ยวตะขาบ
คำพ้องความ[แก้ไข]
คำเกี่ยวข้อง[แก้ไข]
คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]
(1)
ภาษาคำเมือง[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kʰĩːaw/
คำนาม[แก้ไข]
เขี้ยว (ต้องการถอดอักษร)
ภาษาปักษ์ใต้[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *xiəwᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เขียว, ภาษาคำเมือง ᨡ᩠ᨿᩅ (ขยว), ภาษาลาว ຂຽວ (ขย̂ว), ภาษาเขิน ᨡ᩠ᨿᩴ (ขยํ), ภาษาไทลื้อ ᦵᦃᧁ (เฃว), ภาษาไทดำ ꪵꪄꪫ (แฃว), ภาษาไทขาว ꪄꪸꪫ, ภาษาไทใหญ่ ၶဵဝ် (เขว), ภาษาอาหม 𑜁𑜢𑜈𑜫 (ขิว์), ภาษาจ้วง heu, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง keu
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
เขี้ยว
- สีเขียว
อ้างอิง[แก้ไข]
- “เขี้ยว” ใน Central Southern Thai Dictionary (Kaewkhao, Uthai และ Kiatboonyarit, Tawan: ประเทศไทย: US Peace Corps 1986), หน้าที่ 8
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/ia̯w
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ภาษาไทย:ฟัน
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- Requests for transliteration of ภาษาคำเมือง terms
- ภาษาคำเมือง:กายวิภาคศาสตร์
- ศัพท์ภาษาปักษ์ใต้ที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาปักษ์ใต้ที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาปักษ์ใต้
- คำคุณศัพท์ภาษาปักษ์ใต้