เสมอ
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก เพลงเสมอ)
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | สะ-เหฺมอ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sà-mə̌ə |
ราชบัณฑิตยสภา | sa-moe | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sa˨˩.mɤː˩˩˦/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาเขมรกลาง ស្មេ (สฺเม), ស្មើ (สฺเมิ), ស្មើហ (สฺเมิห, “เหมือน; เท่า”), จากภาษาเขมรเก่า ស្មេ (สฺเม), จากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม *sməʔ, *sməh, แรกสุดจากภาษาสันสกฤต सम (สม) หรือภาษาบาลี สม; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ສະເໝີ (สะเหมี), ภาษาไทลื้อ ᦉᦵᦖᦲ (สเหฺมี), ภาษาเขมร ស្មើ (สฺเมิ); ร่วมรากกับ สม (รากศัพท์ 1)
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]เสมอ (คำอาการนาม ความเสมอ)
- เท่ากัน, พอ ๆ กัน, เหมือนกัน
- กรรมการตัดสินให้เสมอกัน ไม่มีใครแพ้ใครชนะ
- เพียง, แค่
- ราคาของ 40,000 บาท เห็นจะซื้อไม่ไหว เสมอสัก 30,000 บาท ก็พอจะสู้ได้
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]เสมอ (คำอาการนาม การเสมอ)
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]เสมอ
- ชื่อเพลงหน้าพาทย์เกี่ยวกับอาการเยื้องกราย และการเดินของตัวละครในนาฏกรรมไทย เรียกว่า เพลงเสมอ
- เสมอบาทสกุณี (เสมอตีนนก)
- เสมอนาง
- เสมอมาร
รากศัพท์ 4
[แก้ไข]คำกริยาวิเศษณ์
[แก้ไข]เสมอ
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɤː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมรกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาเขมรกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาเขมรเก่า
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่ร่วมราก
- คำหลักภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำกริยาภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาไทย