ວັນ
หน้าตา
ภาษาลาว
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เวียงจันทน์) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [ʋan˧˥]
- (หลวงพระบาง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [ʋan˩˨]
- การแบ่งพยางค์: ວັນ
- สัมผัส: -an
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ŋwanᴬ², จากภาษาไทดั้งเดิม *ŋwanᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย วัน, ภาษาคำเมือง ᩅᩢ᩠ᨶ (วัน), ภาษาไทลื้อ ᦞᧃ (วัน), ภาษาไทดำ ꪹꪫꪸꪙ (เวย̂น), ภาษาไทขาว ꪫꪲꪙ, ภาษาไทใหญ่ ဝၼ်း (วั๊น), ภาษาไทใต้คง ᥝᥢᥰ (วั๊น), ภาษาอาหม 𑜈𑜃𑜫 (บน์), ภาษาจ้วง ngoenz, ภาษาปู้อี nguanz; ร่วมรากกับ ເວັນ (เวัน)
คำนาม
[แก้ไข]ວັນ • (วัน)
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]- (หน่วยเวลา) ໜ່ວຍເວລາ (หน่วยเวลา); ປີ (ปี, “ปี”), ເດືອນ (เดือน, “เดือน”), ສັບປະດາ (สับปะดา, “สัปดาห์”) / ອາທິດ (อาทิด, “อาทิตย์”), ມື້ (มื้, “วัน”) / ວັນ (วัน, “วัน”), ຊົ່ວໂມງ (ซ็่วโมง, “ชั่วโมง”), ນາທີ (นาที, “นาที”), ວິນາທີ (วินาที, “วินาที”)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]รากศัพท์ 3
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาบาลี วณฺณ (“สี; ชั้นชน”); เทียบภาษาสันสกฤต वर्ण (วรฺณ)
คำนาม
[แก้ไข]ວັນ • (วัน)
คำพ้องความ
[แก้ไข]วรรณ
- ວັນນະ (วันนะ)
รากศัพท์ 4
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาบาลี วน (“ป่าไม้”)
คำนาม
[แก้ไข]ວັນ • (วัน)
คำพ้องความ
[แก้ไข]ป่าไม้, ดง
ลูกคำ
[แก้ไข]ป่าไม้, ดง
รากศัพท์ 5
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]ວັນ • (วัน)
คำพ้องความ
[แก้ไข]วัณ, วณะ
- ວະນະ (วะนะ)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาลาวที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาลาวที่มี 1 พยางค์
- สัมผัส:ภาษาลาว/an
- ศัพท์ภาษาลาวที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่ร่วมราก
- คำหลักภาษาลาว
- คำนามภาษาลาว
- คำนามภาษาลาวที่ใช้คำลักษณนาม ໂຕ
- ศัพท์ภาษาลาวที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาลาวที่รับมาจากภาษาบาลี
- lo:แมลง