ดง
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | ดง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | dong |
ราชบัณฑิตยสภา | dong | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /doŋ˧/(ส) |
รากศัพท์ 1[แก้ไข]
จากภาษาไทดั้งเดิม *ɗoŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨯᩫ᩠ᨦ (ด็ง), ภาษาเขิน ᨯᩫ᩠ᨦ (ด็ง), ภาษาลาว ດົງ (ด็ง), ภาษาไทลื้อ ᦷᦡᧂ (โดง), ภาษาไทใหญ่ လူင် (ลูง), ภาษาไทใต้คง ᥘᥨᥒ (โลง), ภาษาอาหม 𑜃𑜤𑜂𑜫 (นุง์) หรือ 𑜓𑜤𑜂𑜫 (ดุง์), ภาษาปู้อี ndongl, ภาษาจ้วง ndoeng, ภาษาจ้วงแบบหนง ndoang; เทียบภาษาสุ่ย qdongl, ภาษาต้งใต้ longl
คำนาม[แก้ไข]
ดง
- ป่าที่มีต้นไม้ใหญ่ขึ้นหนาแน่น
- ขึ้นเป็นดง
- ที่ซึ่งมีต้นไม้อย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นหนาแน่น
- ดงกล้วย
- โดยปริยายเรียกสถานที่ที่มีคนหรือสัตว์เป็นต้นประเภทเดียวกันรวมอยู่ด้วยกันมาก ๆ
- ดงผู้ร้าย
- ดงเสือ
รากศัพท์ 2[แก้ไข]
คำกริยา[แก้ไข]
ดง (คำอาการนาม การดง)
ภาษาคำเมือง[แก้ไข]
คำนาม[แก้ไข]
ดง
- อีกรูปหนึ่งของ ᨯᩫ᩠ᨦ (ด็ง)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียง IPA
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ภาษาไทย:สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ภาษาไทย:รากศัพท์จากภาษาไทดั้งเดิม
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอาหม/m
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ไทย terms with redundant head parameter
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำกริยาภาษาไทย
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย