จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก )
U+65B9, 方
CJK UNIFIED IDEOGRAPH-65B9

[U+65B8]
CJK Unified Ideographs
[U+65BA]
U+2F45, ⽅
KANGXI RADICAL SQUARE

[U+2F44]
Kangxi Radicals
[U+2F46]

ภาษาร่วม[แก้ไข]

อักษรจีน[แก้ไข]

(รากคังซีที่ 70, +0, 4 ขีด, การป้อนชางเจี๋ย 卜竹尸 (YHS), การป้อนสี่มุม 00227)

  1. a square, rectangle
  2. a region
  3. local
ข้อมูลนี้ได้นำเข้าโดยบอต ซึ่งมีบางส่วนที่ต้องการแปลเป็นภาษาไทย กรุณาช่วยแปลข้อมูลดังกล่าว เสร็จแล้วให้นำป้ายนี้ออก

อ้างอิง[แก้ไข]

  • พจนานุกรมคังซี: หน้า 481 อักขระตัวที่ 3
  • พจนานุกรมไดกังวะจิเต็ง: อักขระตัวที่ 13620
  • พจนานุกรมแทจาวอน: หน้า 842 อักขระตัวที่ 5
  • พจนานุกรมฮั่นยฺหวี่ต้าจื้อเตี่ยน (ฉบับพิมพ์ครั้งแรก): เล่ม 3 หน้า 2172 อักขระตัวที่ 1
  • ข้อมูลยูนิฮันสำหรับ U+65B9

ภาษาจีน[แก้ไข]

ตัวย่อและตัวเต็ม

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

การออกเสียง 1[แก้ไข]


หมายเหตุ:
  • hng - vernacular (“prescription; place”);
  • png/puiⁿ - vernacular (surname);
  • hong - literary.
หมายเหตุ:
  • bang1 - vernacular (“square; power; unit of measurement”);
  • hng1 - vernacular (“prescription”);
  • bung1 - vernacular (surname);
  • huang1 - literary.
  • อู๋
  • เซียง

  • สัมผัส
    อักขระ
    การออกเสียงที่ 2/2
    ต้นพยางค์ () (1)
    ท้ายพยางค์ () (106)
    วรรณยุกต์ (調) Level (Ø)
    พยางค์เปิด/ปิด (開合) Closed
    ส่วน () III
    ฝ่านเชี่ย
    แบกซเตอร์ pjang
    การสืบสร้าง
    เจิ้งจาง ซ่างฟาง /pʉɐŋ/
    พาน อู้ยฺหวิน /pʷiɐŋ/
    ซ่าว หรงเฟิน /piuɑŋ/
    เอดวิน พุลลีย์แบลงก์ /puaŋ/
    หลี่ หรง /piuaŋ/
    หวาง ลี่ /pĭwaŋ/
    เบอร์นาร์ด คาร์ลเกรน /piwaŋ/
    แปลงเป็นจีนกลาง
    ที่คาดหมาย
    fāng
    แปลงเป็นกวางตุ้ง
    ที่คาดหมาย
    fong1
    ระบบแบกซ์เตอร์ซาการ์ 1.1 (2014)
    อักขระ
    การออกเสียงที่ 1/3 2/3 3/3
    ปักกิ่งใหม่
    (พินอิน)
    fāng fāng fāng
    จีนยุคกลาง ‹ pjang › ‹ pjang › ‹ pjang ›
    จีนเก่า /*C-paŋ/ /*paŋ/ /*paŋ/
    อังกฤษ square method just, then

    Notes for Old Chinese notations in the Baxter–Sagart system:

    * Parentheses "()" indicate uncertain presence;
    * Square brackets "[]" indicate uncertain identity, e.g. *[t] as coda may in fact be *-t or *-p;
    * Angle brackets "<>" indicate infix;
    * Hyphen "-" indicates morpheme boundary;

    * Period "." indicates syllable boundary.
    ระบบเจิ้งจาง (2003)
    อักขระ
    การออกเสียงที่ 1/2
    หมายเลข 3023
    ส่วนประกอบ
    สัทศาสตร์
    กลุ่มสัมผัส
    กลุ่มย่อยสัมผัส 0
    สัมผัสจีนยุคกลาง
    ที่สอดคล้อง
    จีนเก่า /*paŋ/
    หมายเหตุ
    ความหมาย[แก้ไข]

    1. (คณิตศาสตร์) สี่เหลี่ยมจัตุรัส; สี่เหลี่ยม; ลูกบาศก์
        ―  zhèngfāngxíng  ―  สี่เหลี่ยมจัตุรัส
        ―  chángfāngxíng  ―  สี่เหลี่ยมผืนผ้า
    2. ด้าน; ฝั่ง; ฝ่าย
        ―  jiǎ fāng  ―  พรรค ก
        ―  fāngmiàn  ―  ด้าน
    3. ที่; ภาค; ถิ่น
        ―  yuǎnfāng  ―  สถานที่ที่อยู่ห่างไกล
    4. ทิศ; ทาง
        ―  fāng  ―  ทิศตะวันออก
        ―  qiánfāng  ―  ทางด้านหน้า
    5. วิธี; หนทาง
    6. แม่แบบ:zh-classifier
      手帕  ―  fāng shǒupà  ―  ผ้าเช็ดหนึ่งผืน

    ภาษาญี่ปุ่น[แก้ไข]

    คันจิ[แก้ไข]

    (เคียวอิกูกันจิระดับ 2)

    1. ทิศทาง
    2. บุคคล
    3. ทางเลือก

    การออกเสียง[แก้ไข]

    คำประสม[แก้ไข]

    รากศัพท์ 1[แก้ไข]

    คันจิในศัพท์นี้
    ほう
    ระดับ: 2
    อนโยมิ

    ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง (pjang)

    การออกเสียง[แก้ไข]

    คำนาม[แก้ไข]

    (ほう) (ほう (fou)?

    1. ทิศ, ทาง, ด้าน, ฝั่ง
    2. ใช้ในการเปรียบเทียบ: กว่าอีกอัน (ตามหลัง และมักตามด้วย )
      この時計(とけい)(ほう)そっちより(たか)です
      Kono tokei no ga sotchi yori takai desu.
      นาฬิกาเรือนนี้แพงกว่าเรือนนั้น

    รากศัพท์ 2[แก้ไข]

    คันจิในศัพท์นี้
    かた
    ระดับ: 2
    คุนโยมิ

    การออกเสียง[แก้ไข]

    คำนาม[แก้ไข]

    (かた) (kata

    1. (สุภาพ) คน
      あの(かた)ano kata.คนผู้นั้น (สุภาพ)
      あの(かた)どなたです
      Ano kata wa donata desu ka.
      บุคคลผู้นั้นคือใคร? (เป็นทางการ)
    คำพ้องความ[แก้ไข]

    ปัจจัย[แก้ไข]

    (かた) หรือ (ปัจจัย) (kata หรือ ปัจจัย[[Category:Invalid part of speech.ภาษาญี่ปุ่น|かた]]

    1. วิธี (กระทำ)
      ()(かた)kakikataวิธีเขียน
      使(つか)(かた)tsukaikataวิธีใช้
    ดูเพิ่ม[แก้ไข]
    1. 1.0 1.1 2006, 大辞林 (Daijirin), Third Edition (in Japanese), Tōkyō: Sanseidō, →ISBN
    2. 2.0 2.1 2541 (1998), NHK日本語発音アクセント辞典 (พจนานุกรมสำเนียงการออกเสียงภาษาญี่ปุ่นโดยเอ็นเอชเค) (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: เอ็นเอชเค, →ISBN