บารมี
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาบาลี ปารมี (“ความสมบูรณ์, ความครบถ้วน, สถานภาพที่สูงที่สุด”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ປາລະມີ (ปาละมี), ภาษาไทใหญ่ ပႃႇရမီႇ (ป่ารมี่), ภาษาเขมร បារមី (บารมี), ภาษาพม่า ပါရမီ (ปารมี), ภาษามอญ ပါရမဳ (ปารมี)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | บา-ระ-มี | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | baa-rá-mii |
ราชบัณฑิตยสภา | ba-ra-mi | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /baː˧.ra˦˥.miː˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]บารมี
- (ศาสนาพุทธ) คุณความดีที่ควรบำเพ็ญมี 10 อย่าง คือ ทาน ศีล เนกขัมมะ (การออกจากกาม คือ บวช) ปัญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิฏฐาน เมตตา อุเบกขา เรียกว่า ทศบารมี
- คุณความดีที่ได้บำเพ็ญมา, คุณสมบัติที่ทำให้ยิ่งใหญ่
- ชมพระบารมี
- พระบารมีปกเกล้าฯ
- พ่ายแพ้แก่บารมี