ข้ามไปเนื้อหา

สั่ง

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย

[แก้ไข]

รูปแบบอื่น

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์สั่ง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงsàng
ราชบัณฑิตยสภาsang
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/saŋ˨˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *saŋᴮ (บอกให้ทำ); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ສັ່ງ (สั่ง), ภาษาคำเมือง ᩈᩢ᩠᩵ᨦ (สั่ง), ภาษาเขิน ᩈᩢ᩠᩵ᨦ (สั่ง), ภาษาไทดำ ꪎꪰ꪿ꪉ (สั่ง), ภาษาไทใหญ่ သင်ႇ (สั่ง), ภาษาอาหม 𑜏𑜂𑜫 (สง์)

คำกริยา

[แก้ไข]

สั่ง (คำอาการนาม การสั่ง)

  1. บอกไว้เพื่อให้ทำหรือให้ปฏิบัติเป็นต้น
    ครูสั่งให้นักเรียนทำการบ้าน
    แม่สั่งให้ถูบ้าน
  2. บอกไว้อาลัยในการที่จะจากไป
    ฝนสั่งฟ้า
    ทศกัณฐ์สั่งเมือง
    อิเหนาสั่งถ้ำ
    สิ้นเสียงก็สิ้นสั่ง
    ตายไม่ทันสั่ง
คำสืบทอด
[แก้ไข]
  • เขมรเหนือ: ซัง

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *saŋᴮ (ทำให้ลมดันน้ำมูก); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ສັ່ງ (สั่ง), ภาษาคำเมือง ᩈᩢ᩠᩵ᨦ (สั่ง), ภาษาเขิน ᩈᩢ᩠᩵ᨦ (สั่ง); เทียบภาษากวางตุ้ง (sang3)

คำกริยา

[แก้ไข]

สั่ง (คำอาการนาม การสั่ง)

  1. ทำให้ลมดันน้ำมูกออกจากจมูกโดยแรง
    สั่งน้ำมูก