ข้ามไปเนื้อหา

ขี้ข้า

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย

[แก้ไข]

รากศัพท์

[แก้ไข]

ขี้ +‎ ข้า; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ขี้ข้า, ภาษาลาว ຂີ້ຂ້າ (ขี้ข้า), ภาษาคำเมือง ᨡᩦ᩶ᨡ᩶ᩣ (ขี้ข้า), ภาษาเขิน ᨡᩦ᩶ᨡ᩶ᩣ (ขี้ข้า)

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์คี่-ค่า
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงkîi-kâa
ราชบัณฑิตยสภาkhi-kha
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kʰiː˥˩.kʰaː˥˩/(สัมผัส)

คำนาม

[แก้ไข]

ขี้ข้า (คำลักษณนาม คน)

  1. (หยาบคาย) คนรับใช้
  2. (ดูหมิ่น, ล่วงเกิน) คำประชดเชิงเปรียบเทียบที่บ่งบอกฐานะต่ำต้อย, คำดูถูกเหยียดหยามว่าเป็นผู้มีฐานะต่ำต้อย (ใช้เป็นคำด่า)

คำพ้องความ

[แก้ไข]
ดูที่ อรรถาภิธาน:คนใช้

ลูกคำ

[แก้ไข]

ภาษาคำเมือง

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

ขี้ข้า (คำลักษณนาม คน)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨡᩦ᩶ᨡ᩶ᩣ (ขี้ข้า)