ชี้
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
จากภาษาไทดั้งเดิม *ɟiːꟲ, จากภาษาจีนยุคกลาง 指 (MC t͡ɕˠiɪX); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨩᩦ᩶ (ชี้), ภาษาลาว ຊີ້ (ซี้), ภาษาไทลื้อ ᦋᦲᧉ (ชี้), ภาษาไทดำ ꪋꪲ꫁ (จิ้̱), ภาษาไทใหญ่ ၸီႉ (จี๎), ภาษาอาหม 𑜋𑜣 (ฉี), ภาษาจ้วงแบบหนง jix,ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง jij,ภาษาจ้วง cij, เทียบภาษาเวียดนาม chỉ และ chĩa
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | ชี้ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | chíi |
ราชบัณฑิตยสภา | chi | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰiː˦˥/(สัมผัส) |
คำกริยา[แก้ไข]
ชี้ (คำอาการนาม การชี้)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเวียดนาม
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเวียดนาม/m
- สัมผัส:ภาษาไทย/iː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียง IPA
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้