ทลาย
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาเขมรเก่า ថ្លាយ (ถฺลาย) หรือเขมรเก่าสมัยอังกอร์ ទ្លាយ៑ (ทฺลายฺ), ទ្លៃយ៑ (ทฺไลยฺ), จากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม *laaj; ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขมร ធ្លាយ (ธฺลาย); เป็นไปได้ว่าเกี่ยวข้องกับ สลาย
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ทะ-ลาย | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | tá-laai |
ราชบัณฑิตยสภา | tha-lai | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /tʰa˦˥.laːj˧/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | ทะลาย |
คำกริยา
[แก้ไข]ทลาย (คำอาการนาม การทลาย)
- อาการที่สิ่งซึ่งเป็นกลุ่มก้อนแตกหักหรือพังกระจัดกระจาย
- กองทรายทลาย
- พังหรือทำให้พัง, มักใช้เข้าคู่กันเป็น พังทลาย
- กำแพงทลาย
- ทลายกำแพง
- โดยปริยายหมายความว่า ล้มเหลวไม่ได้ดังหวัง
- ความฝันพังทลาย
- วิมานทลาย
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมรเก่า
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาเขมรเก่า
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมรเก่าสมัยอังกอร์
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาเขมรเก่าสมัยอังกอร์
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːj
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้