หมอน
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
จากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰmɔːnᴬ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾᩬᩁ (หมอร), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᨾᩬᩁ (หมอร), ภาษาลาว ໝອນ (หมอน), ภาษาไทลื้อ ᦖᦸᧃ (หฺมอ̂น), ภาษาไทดำ ꪢꪮꪙ (หฺมอน), ภาษาไทใหญ่ မွၼ် (มอ̂น), ภาษาพ่าเก မွꩫ် (มอ̂น์), ภาษาอาหม 𑜉𑜨𑜃𑜫 (มอ̂น์), ภาษาจ้วงแบบหนง moan
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | หฺมอน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | mɔ̌ɔn |
ราชบัณฑิตยสภา | mon | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /mɔːn˩˩˦/(สัมผัส) |
คำนาม[แก้ไข]
หมอน
- เครื่องสำหรับหนุนศีรษะหรือหนุนสิ่งต่าง ๆ เป็นต้น, เรียกตามรูปทรงก็มี เรียกตามวัตถุประสงค์ที่ใช้สอยก็มี เรียกตามวัตถุที่ใช้ทำก็มี (คำลักษณนาม ใบ หรือ ลูก)
- หมอนขวาน
- หมอนตะพาบ
- หมอนหน้าอิฐ
- หมอนหนุนศีรษะ
- หมอนหนุนเท้า
- หมอนหนุนรางรถไฟ
- หมอนไม้
- หมอนอิฐ
- เครื่องสำหรับอัดดินปืนในลำกล้องให้แน่น
คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔːn
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียง IPA
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ใบ
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ลูก
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาดัตช์/t+