อคติ
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากบาลี อคติ; เทียบเท่า อ + คติ
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | อะ-คะ-ติ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | à-ká-dtì |
ราชบัณฑิตยสภา | a-kha-ti | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ʔa˨˩.kʰa˦˥.tiʔ˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]อคติ
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
คำนาม
[แก้ไข]อคติ ญ.
- ธรรมชาติมิใช่เป็นที่ไปแห่งพระอริยเจ้า หรือท่านผู้รู้
- กิริยาที่ไม่ควรถึง, กิริยาที่ไม่ควรประพฤติ, คติไม่ควร
- ความลำเอียง
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "อคติ" (เพศหญิง)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | อคติ | อคติโย หรือ อคตี |
กรรมการก (ทุติยา) | อคติํ | อคติโย หรือ อคตี |
กรณการก (ตติยา) | อคติยา | อคตีหิ หรือ อคตีภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | อคติยา | อคตีนํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | อคติยา หรือ อคตฺยา | อคตีหิ หรือ อคตีภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | อคติยา | อคตีนํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | อคติยา หรือ อคติยํ หรือ อคตฺยํ | อคตีสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | อคติ | อคติโย หรือ อคตี |