เอว
หน้าตา
ดูเพิ่ม: เอฺิ็ว
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ˀjeːwᴬ, จากภาษาจีนยุคกลาง 腰 (MC 'jiew); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩋᩯ᩠ᩅ (แอว), ภาษาลาว ແອວ (แอว), ภาษาไทดำ ꪵꪮꪫ (แอว), ภาษาไทใหญ่ ဢႅဝ် (แอว), ภาษาจ้วง yiu; เป็นไปได้ว่าเกี่ยวข้องกับ เอี้ยว
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ {เสียงสระสั้น} | เอว | เอ็ว | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | eeo | eo |
ราชบัณฑิตยสภา | eo | eo | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ʔeːw˧/(สัมผัส) | /ʔew˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]เอว
- ส่วนกลางของร่างกายระหว่างชายโครงกับกระดูกตะโพกทั้ง 2 ข้าง, กะเอว บั้นเอว หรือ สะเอว ก็ว่า
- โดยปริยายหมายถึงส่วนกลางของสิ่งอื่น ๆ ตรงที่คอดเข้าไป
- เอวว่าวจุฬา
- เอวพาน
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- สัมผัส:ภาษาไทย/eːw
- สัมผัส:ภาษาไทย/ew
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้