ᨯᩬᨦ
หน้าตา
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (ถอดอักษรและถอดเสียง) ดอง
การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /dɔːŋ˧˧/
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ˀblɔːŋᴬ³, จากไทดั้งเดิม *ɗoːŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับไทย ดอง, อีสาน บอง, ลาว ດອງ (ดอง), ບອງ (บอง), ไทลื้อ ᦢᦸᧂ (บอ̂ง), ไทขาว ꪚꪮꪉ, ไทใหญ่ မွင် (มอ̂ง), จ้วง myong, ndong, ปู้อี doongl
คำกริยา
[แก้ไข]ᨯᩬᨦ (ดอง) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨯᩬᨦ)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *t.noːŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับไทย ดอง, อีสาน ดอง, ลาว ດອງ (ดอง), ไทลื้อ ᦡᦸᧂ (ดอ̂ง)
คำนาม
[แก้ไข]ᨯᩬᨦ (ดอง)
- การแต่งงาน, การเกี่ยวเนื่องกันโดยการแต่งงาน
- วิธีห่มผ้าของภิกษุสามเณรโดยปิดบ่าซ้ายและเปิดบ่าขวา เรียกว่า ᨯᩬᨦᨹ᩶ᩣ (ดองผ้า)
อ้างอิง
[แก้ไข]- พจนานุกรมภาษาล้านนา = The Lanna dictionary (พิมพ์ครั้งที่ 2). (พ.ศ. 2550). เชียงใหม่: สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาจ้วง
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาจ้วง/m
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมืองในอักษรไทธรรม
- คำสกรรมกริยาภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทธรรม