啊
หน้าตา
|
ภาษาร่วม
[แก้ไข]ลำดับขีด | |||
---|---|---|---|
รากศัพท์
[แก้ไข]ประกอบจากสัญลักษณ์ 口 (ปาก) + 阿
อักษรจีน
[แก้ไข]啊 (รากคังซีที่ 30, 口+8, 10 ขีด, การป้อนชางเจี๋ย 口弓中口 (RNLR), การป้อนสี่มุม 61020, การประกอบ ⿰口阿)
- อา! (แสดงการอุทาน)
อ้างอิง
[แก้ไข]- พจนานุกรมคังซี: หน้า 195 อักขระตัวที่ 4
- พจนานุกรมไดกังวะจิเต็ง: อักขระตัวที่ 3808
- พจนานุกรมแทจาวอน: หน้า 416 อักขระตัวที่ 5
- พจนานุกรมฮั่นยฺหวี่ต้าจื้อเตี่ยน (ฉบับพิมพ์ครั้งแรก): เล่ม 1 หน้า 634 อักขระตัวที่ 18
- ข้อมูลยูนิฮันสำหรับ U+554A
ภาษาจีน
[แก้ไข]ตัวย่อและตัวเต็ม |
啊 |
---|
การออกเสียง
[แก้ไข]- จีนกลาง
- กวางตุ้ง (Jyutping): aa1 / aa2 / aa3 / aa4
- แคะ (Sixian, PFS): a
- หมิ่นใต้ (ฮกเกี้ยน, POJ): --ah
- จีนกลาง
- (จีนมาตรฐาน)+
- พินอิน:
- จู้อิน: ㄚ
- ทงย่งพินอิน: a
- เวด-ไจลส์: a1
- เยล: ā
- กั๋วยฺหวี่หลัวหม่าจื้อ: a
- พัลลาดีอุส: а (a)
- สัทอักษรสากลจีนวิทยา(คำอธิบาย): /ˀä⁵⁵/
- (จีนมาตรฐาน)+
- พินอิน:
- จู้อิน: ㄚˊ
- ทงย่งพินอิน: á
- เวด-ไจลส์: a2
- เยล: á
- กั๋วยฺหวี่หลัวหม่าจื้อ: ar
- พัลลาดีอุส: а (a)
- สัทอักษรสากลจีนวิทยา(คำอธิบาย): /ˀä³⁵/
- (จีนมาตรฐาน)+
- พินอิน:
- จู้อิน: ㄚˇ
- ทงย่งพินอิน: ǎ
- เวด-ไจลส์: a3
- เยล: ǎ
- กั๋วยฺหวี่หลัวหม่าจื้อ: aa
- พัลลาดีอุส: а (a)
- สัทอักษรสากลจีนวิทยา(คำอธิบาย): /ˀä²¹⁴/
- (จีนมาตรฐาน)+
- พินอิน:
- จู้อิน: ㄚˋ
- ทงย่งพินอิน: à
- เวด-ไจลส์: a4
- เยล: à
- กั๋วยฺหวี่หลัวหม่าจื้อ: ah
- พัลลาดีอุส: а (a)
- สัทอักษรสากลจีนวิทยา(คำอธิบาย): /ˀä⁵¹/
- (จีนมาตรฐาน)+
- พินอิน:
- จู้อิน: ˙ㄚ
- ทงย่งพินอิน: å
- เวด-ไจลส์: a5
- เยล: a
- กั๋วยฺหวี่หลัวหม่าจื้อ: .a
- พัลลาดีอุส: а (a)
- สัทอักษรสากลจีนวิทยา(คำอธิบาย): /ˀä/
- (จีนมาตรฐาน)+
- กวางตุ้ง
- (Standard Cantonese, Guangzhou–Hong Kong)
- Jyutping: aa1 / aa2 / aa3 / aa4
- Yale: ā / á / a / àh
- Cantonese Pinyin: aa1 / aa2 / aa3 / aa4
- Guangdong Romanization: a1 / a2 / a3 / a4
- สัทอักษรสากลจีนวิทยา (key): /aː⁵⁵/, /aː³⁵/, /aː³³/, /aː²¹/
- (Standard Cantonese, Guangzhou–Hong Kong)
Note: The zero initial /∅-/ is commonly pronounced with a ng-initial /ŋ-/ in some varieties of Cantonese, including Hong Kong Cantonese.
- แคะ
- (Sixian, incl. Miaoli and Meinong)
- Pha̍k-fa-sṳ: a
- Hakka Romanization System: a
- Hagfa Pinyim: a4
- สัทอักษรสากลจีนวิทยา: /a⁵⁵/
- (Sixian, incl. Miaoli and Meinong)
- หมิ่นใต้
- (Hokkien)
- Pe̍h-ōe-jī: --ah
- Tâi-lô: --ah
- (Hokkien)
คำอุทาน
[แก้ไข]啊
- พินอิน: ā (อา) : โอ้, โอ้โห (แสดงถึงความประหลาดใจหรือความนิยมชมชื่น)
- พินอิน: á (อ๋า) : ว่ายังไง, ว่ายังไงนะ (แสดงถึงการซักถามหรือขอร้องให้พูดอีกครั้งหนึ่ง)
- พินอิน: ǎ (อ่า) : คำอุทานแสดงถึงความสงสัย
คำอุทาน
[แก้ไข]啊 พินอิน: à (อ้า)
- คำอุทานแสดงถึงการตอบรับ (ออกเสียงค่อนข้างสั้น)
- อ้อ, อ๋อ (แสดงถึงความเข้าใจ) (ออกเสียงค่อนข้างยาว)
- เขียนท้ายประโยคมีความหมายแสดงน้ำเสียงชื่นชม
- เขียนท้ายประโยค แสดงถึงน้ำเสียงยืนยัน แก้ตัว เร่ง กำชับ
- เขียนท้ายประโยค แสดงถึงน้ำเสียงที่สงสัย
- เขียนแทรกกลางประโยคและอาจหยุดสักพักเพื่อกระตุ้นให้คนสนใจในประโยคต่อไป
- เขียนต่อคำที่ยกขึ้นมากล่าว, ...ก็ดี ...ก็ดี (เช่น น้ำก็ดี อาหารก็ดี)
ภาษาญี่ปุ่น
[แก้ไข]คันจิ
[แก้ไข]啊
การอ่าน
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- บล็อก CJK Unified Ideographs
- อักขระอักษรจีน
- คำหลักภาษาร่วม
- สัญลักษณ์ภาษาร่วม
- ร่วม terms with non-redundant non-automated sortkeys
- ศัพท์ภาษาจีนกลางที่มีลิงก์เสียง
- ศัพท์ภาษาจีนกลางที่มีการออกเสียงหลายแบบ
- คำหลักภาษาจีน
- คำหลักภาษาจีนกลาง
- คำหลักภาษากวางตุ้ง
- คำหลักภาษาแคะ
- คำหลักภาษาฮกเกี้ยน
- คำอุทานภาษาจีน
- คำอุทานภาษาจีนกลาง
- คำอุทานภาษากวางตุ้ง
- คำอุทานภาษาแคะ
- คำอุทานภาษาฮกเกี้ยน
- คำอนุภาคภาษาจีน
- คำอนุภาคภาษาจีนกลาง
- คำอนุภาคภาษากวางตุ้ง
- คำอนุภาคภาษาแคะ
- คำอนุภาคภาษาฮกเกี้ยน
- ศัพท์ภาษาจีนที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- Chinese Han characters
- ศัพท์ภาษาจีนกลางที่มีตัวอย่างการใช้
- คันจิภาษาญี่ปุ่น
- คันจิพิเศษ
- ญี่ปุ่น terms with redundant transliterations
- ญี่ปุ่น terms with non-redundant manual transliterations
- คันจิภาษาญี่ปุ่นที่ออกเสียงโกองว่า あ
- คันจิภาษาญี่ปุ่นที่ออกเสียงคังองว่า あ
- คันจิภาษาญี่ปุ่นที่ออกเสียงคุงว่า こえ